Now showing items 21-40 of 162

    • การบริหารจัดการ เครือข่ายวิจัยระบบสุขภาพ 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-12-15)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเครือข่ายการวิจัยระบบสุขภาพ หัวข้อ การบริหารจัดการเครือข่ายวิจัยระบบสุขภาพ วันที่ 15 ธันวาคม 2558 เวลา 13.00-16.00 น. ณ ห้องกินรี2 โรงแรมอมารี ดอนเมือง แอร์พอร์ต กรุงเทพฯ
    • การบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพในพื้นที่ (ภาคปฏิบัติ) 

      ปิยะ หาญวรวงศ์ชัย; Piya Hanvoravongchai (คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556-12-24)
      เอกสารนำเสนอประกอบการอบรมโครงการพัฒนานักวิจัยในเขตสุขภาพ รุ่นที่ 1 วันที่ 23-27 ธันวาคม 2556 ณ ห้องประชุมสานใจ 1 ชั้น 6 อาคารสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข
    • การปฏิรูประบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ : กรณีศึกษา ตำบลขุนคง อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ 

      วิลาวัณย์ เสนารัตน์; Wilawan Senarat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      สุขภาพในแนวคิดใหม่เน้นความเป็นองค์รวมของกาย จิต สังคม จิตวิญญาณ และระบบ สุขภาพคือสิ่งทั้งมวลที่มีผลต่อสุขภาพรวมทั้งพฤติกรรม วิถีชีวิต สังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ระบบการบริการสุขภาพและรูปแบบการให้บริก ...
    • การปฏิรูประบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ : กรณีศึกษาภาคเหนือ ศูนย์สุขภาพชุมชนหนองตอง อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ 

      วิลาวัณย์ เสนารัตน์; Wilawan Senarat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมและการพัฒนา เพื่อศึกาษารูปแบบและพัฒนาการจัดระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิของศูนย์สุขภาพชุมชนหนองตอง อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ โดยศึกษาจากผู้ให้บริการ ผู้รับบริการ ...
    • การปฏิรูประบบสุขภาพ : กรณีศึกษาประเทศญี่ปุ่น 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawats (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      ประเทศญี่ปุ่นเป็นประเทศในเอเชียประเทศแรกที่สามารถให้หลักประกันสุขภาพกับประชาชนได้อย่างทั่วหน้า และมีวิวัฒนาการมากว่า 70 ปี ระบบประกันสุขภาพของญี่ปุ่นนั้นเกิดขึ้นก่อนระบบประกันสังคม ทั้งนี้ในระยะแรกของการพัฒนานั้นเกิดขึ้ ...
    • การปฏิรูประบบสุขภาพ : กรณีศึกษาประเทศสาธารณรัฐเกาหลี 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawats (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      เกาหลีเป็นประเทศหนึ่งในเอเชียที่มีระดับการพัฒนาด้านเศรษฐกิจสูงและเป็นสมาชิกของประเทศกลุ่มความร่วมมือด้านการพัฒนาระบบเศรษฐกิจ (OECD) โดยสามารถให้หลักประกันสุขภาพกับประชาชนได้อย่างทั่วหน้าภายในระยะเวลาอันสั้นเพียง 12 ปี ...
    • การปฏิรูประบบสุขภาพ : กรณีศึกษาประเทศสาธารณรัฐเยอรมัน 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawats (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมันเป็นประเทศแรกที่ประสบความสำเร็จในการจัดหลักประกันด้านสังคมและสุขภาพให้แก่ประชาชนด้วยระบบประกันสังคมหรือประกันภาคบังคับ ปรัชญาและหลักการพื้นฐานสำคัญของระบบการเมืองเยอรมันคือ ความเป็นอันหนึ่งอันเดีย ...
    • การปฏิรูประบบสุภาพทันตบุคลากรไทยในอนาคต 

      สุปรีดา อดุลยานนท์; Supreeda Aduyanon; ปิยะนารถ จาติเกตุ; ปิยะฉัตร พัชรานุฉัตร; ศิริเกียรติ เหลียงกอบกิจ; ชาญชัย โห้สงวน; Piyanat Chatiket; Piyachat Pacharanuchat; Sirikert Hiangkobkit; Chanchai Hosanguang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      การศึกษานี้ได้ทบทวนวรรณกรรมและใช้กระบวนการศึกษาเชิงคุณภาพเพื่อประมวลถึงแนวทางการพัฒนาทันตบุคลากรในอนาคต โดยมีขอบเขตการศึกษาเฉพาะทันตแพทย์และทันตาภิบาล ผลการศึกษาชี้ถึงปัจจัยหลักที่ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงของทันตบุคลาก ...
    • การประเมินการดำเนินการเพิ่มศักยภาพเครือข่ายระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ เพื่อให้การดูแลผู้ป่วยโควิด-19 ที่บ้าน ในช่วงเวลาที่เกิดวิกฤติระบบสุขภาพในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 

      ศิรินภา ศิริพร ณ ราชสีมา; Sirinapa Siriporn Na Ratchaseema; สายรัตน์ นกน้อย; Sairat Noknoy; อภินันท์ อร่ามรัตน์; Apinun Aramrattana; สุพัตรา ศรีวณิชชากร; Supattra Srivanichakorn; อนุวัตร แก้วเชียงหวาง; Anuwat Kaewchiangwang; ราม รังสินธุ์; Ram Rangsin; สตางค์ ศุภผล; Satang Supapon; วิรุฬ ลิ้มสวาท; Wirun Limsawart; นิตยา ภานุภาค; Nittaya Phanuphak; ปิยวรรณ ลิ้มปัญญาเลิศ; Piyawan Limpanyalert; กิตติ วงศ์ถาวราวัฒน์; Kitti Wongthavarawat; ยุพดี ศิริสินสุข; Yupadee Sirisinsuk; นาถนภา คำลอยฟ้า; Nathnapha Khumloyfa; นิมิตร์ เทียนอุดม; Nimit Tienudom; นพพรรณ พรหมศรี; Nopphan Promsri; ทัศนีย์ ญาณะ; Tassanee Yana; เกรียงไกร พึ่งเชื้อ; Kriengkrai Peungchuer; พลวัฒน์ ทศวิภาค; Ponrawat Thotwiphak; ธีระบูลย์ เลิศวณิชย์วัฒนา; Teeraboon Lertwanichwattana (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งเป็นโรคอุบัติใหม่ ช่วงกลางปี พ.ศ. 2564 นำไปสู่ปัญหาวิกฤติระบบสุขภาพในกรุงเทพมหานครที่ผู้ป่วยหนักไม่สามารถเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล ราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ ...
    • การประเมินประสิทธิภาพการขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพพื้นที่ในการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคโคโรน่าไวรัส-2019 พื้นที่เขตสุขภาพ 10 

      ปวีณา ลิมปิทีปราการ; Pawena Limpiteeprakan; พลากร สืบสำราญ; Phalakorn Suebsamran; นิยม จันทร์นวล; Niyom Junnual; ชลลดา ไชยกุลวัฒนา; Cholada Chaikoolvatana; อนันต์ ไชยกุลวัฒนา; Anun Chaikoolvatana; จงกลนี ศิริรัตน์; Jongkolnee Sirirat; รพินทร์ ยืนยาว; Rapin Yuenyao; วินัย วงศ์อาสา; Winai Wongarsa; วิชิต พุ่มจันทร์; Wichid Pumchan; สงกา สามารถ; Songka Samart (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-11)
      จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโคโรน่าไวรัส 2019 หรือ โรคโควิด-19 (COVID-19) ที่ผ่านมา เขตสุขภาพที่ 10 โดยคณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชนเขตพื้นที่ 10 ร่วมกับเครือข่ายสมัชชาสุขภาพทั้ง 5 จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดอุบลราชธานี ...
    • การประเมินผลการดำเนินงานเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ จังหวัดตาก 

      ปราโมชย์ เลิศขามป้อม; มโน มณีฉาย; ธีระ วรธนารัตน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      การประเมินผลการดำเนินงานเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System) จังหวัดตาก มีวัตถุประสงค์คือ เพื่อประเมินความสอดคล้องและเหมาะสมด้านบริบท (Context Evaluation) ประเมินความเหมาะสมและเพียงพอด้านปัจจัยเบื้องต้น (Input ...
    • การประเมินผลท้องถิ่นกับการพัฒนาระบบสุขภาพในบริบทการกระจายอำนาจ: การสังเคราะห์บทเรียนและข้อเสนอเชิงนโยบาย 

      ลือชัย ศรีเงินยวง; ประเชิญ ศิลาวรรณ; สายสุดา วงษ์จินดา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขคณะสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2555-06-22)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการ สรุปบทเรียนและทิศทางในอนาคตการถ่ายโอนสถานีอนามัย วันที่ 22 มิถุนายน 2555 ณ โรงแรมริชมอนด์ จ.นนทบุรี
    • การประเมินผลและทบทวนแนวคิดการนำธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติไปใช้ในการขับเคลื่อนระบบสุขภาพและสังคมไทย 

      เดชรัต สุขกำเนิด (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-09)
      ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติเป็นนวัตกรรมใหม่ในการขับเคลื่อนระบบสุขภาพและสังคมไทย ที่เกิดขึ้นตามพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 แม้ว่าการนำธรรมนูญสุขภาพฯ มาใช้ในฐานะของเจตจำนงและพันธะร่วมกันของภาคส่วนต่างๆ ในสังคม ...
    • การประเมินศักยภาพของระบบสุขภาพในความพร้อมรับมือการระบาดโรค COVID-19 ในพื้นที่ชายแดน จังหวัดเชียงราย 

      อนุสรณ์ อุดปล้อง; Anusorn Udplong; ธวัชชัย อภิเดชกุล; Tawatchai Apidechkul; ฟาติมา ยีหมาด; Fartima Yeemard (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)
      การวิจัยแบบภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินศักยภาพของบุคลากรและระบบสุขภาพในการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรค COVID-19 ของหน่วยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงมหาดไทย ในพื้นที่อำเภอชายแดนจังหวัดเชียงราย คือ ...
    • การประเมินสถานการณ์ด้านนโยบายการป้องกันและควบคุมโรคเพื่อจัดตั้งศูนย์ควบคุมโรคติดต่อประจำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 

      วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; Li Yang, Hsu; Howard, Natasha; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; Dabak, Saudamini; Ananthakrishnan, Aparna; เบญจรินทร์ สันตติวงศ์ไชย; Benjarin Santatiwongchai; มานิต สิทธิมาตร; Manit Sittimart (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01)
      งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาทางวิชาการ มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างคำแนะนำเกี่ยวกับการดำเนินงาน (Operationalisation) ขององค์กรทางด้านสุขภาพในระดับภูมิภาค ซึ่งรวมไปถึงภูมิภาคอาเซียนด้วย ความคิดริเริ่มนี้เป็นความพยายามที่จะช่วยสนับส ...
    • การประเมินสมรรถนะระบบสุขภาพของประเทศไทย ปี 2563 - 2564 (รายงานวิจัย) 

      พงศธร พอกเพิ่มดี; Pongsadhorn Pokpermdee; วิวัฒน์ โรจนพิทยากร; Wiwat Rojanapithayakorn; เดือนเพ็ญ โยเฮือง; Duanpen Yohuang; จุฬาพร กระเทศ; Juraporn Krates; นาฎอนงค์ เจริญสันติสุข; Nardanong Charoensuntisuk; ชุติมา อรรคลีพันธุ์; Chutima Akaleephan; ปุณณิภา คงสืบ; Punnipa Kongsueb; ภาวิณี ธนกิจไพบูลย์; Pavinee Tanakitpiboon; โศรดากรณ์ พิมลา; Soradakorn Phimla; กฤติยา สุขพัฒนากุล; Krittiya Sukpatthanakul; ณัฐนรี ขิงจัตุรัส; Natnaree Khingchatturat; วันวิสา เพ็ญสุริยะ; Wanwisa Pensuriya (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)
      การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบันส่งผลต่อปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพของประเทศ ทั้งการเปลี่ยนแปลงของประชากรในเชิงโครงสร้างและพฤติกรรม จำนวนประชากรสูงอายุเพิ่มมากขึ้น ในขณะที่วัยแรงงานมีสัดส่วนลดลง การพัฒนาอุตส ...
    • การประเมินสมรรถนะระบบสุขภาพของประเทศไทย ปี 2563 - 2564 (เอกสารเผยแพร่) 

      พงศธร พอกเพิ่มดี; Pongsadhorn Pokpermdee; วิวัฒน์ โรจนพิทยากร; Wiwat Rojanapithayakorn; เดือนเพ็ญ โยเฮือง; Duanpen Yohuang; จุฬาพร กระเทศ; Juraporn Krates; นาฎอนงค์ เจริญสันติสุข; Nardanong Charoensuntisuk; ชุติมา อรรคลีพันธุ์; Chutima Akaleephan; ปุณณิภา คงสืบ; Punnipa Kongsueb; ภาวิณี ธนกิจไพบูลย์; Pavinee Tanakitpiboon; โศรดากรณ์ พิมลา; Soradakorn Phimla; กฤติยา สุขพัฒนากุล; Krittiya Sukpatthanakul; ณัฐนรี ขิงจัตุรัส; Natnaree Khingchatturat; วันวิสา เพ็ญสุริยะ; Wanwisa Pensuriya (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)
      การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบันส่งผลต่อปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพของประเทศ ทั้งการเปลี่ยนแปลงของประชากรในเชิงโครงสร้างและพฤติกรรม จำนวนประชากรสูงอายุเพิ่มมากขึ้น ในขณะที่วัยแรงงานมีสัดส่วนลดลง การพัฒนาอุตส ...
    • การประเมินโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการนักวิจัยเขตสุขภาพรุ่นที่ 1 ระยะที่ 1 และ 2 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; Krit Pongpirul; อารียา จิรธนานุวัฒน์; Areeya Jirathananuwat; จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux; พรชัย สิทธิศรัณย์กุล; Pornchai Sithisarankul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      วัตถุประสงค์ (Objective) เพื่อประเมินโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการนักวิจัยเขตสุขภาพรุ่นที่ 1 ในการสังเคราะห์ประเด็นสำคัญและเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาโครงการ (formative evaluation) โดยครอบคลุมโครงการทั้งระยะที่ 1 และ ระยะที่ 2 ...
    • การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยในระบบสุขภาพ 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      เป้าหมายในการขยายแนวคิด การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research ; R2R) ให้ขจรขจายไปทั่วทั้งระบบบริการสุขภาพ เพื่อให้เกิดวัฒนธรรมของการใช้ความรู้ในการพัฒนางานของคนในวงการสุขภาพ โดยให้บุคลากรแต่ละคนสามารถแก้ปัญหาไ ...
    • การพัฒนาดัชนีชี้วัดความเชื่อมั่นของประชาชนต่อระบบสุขภาพ 

      โครงการปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาธรรมาภิบาล มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      ตามแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 – 2554) ที่ต้องการให้มีการสร้างเอกภาพและธรรมาภิบาลในการจัดการระบบสุขภาพที่สมดุลและยั่งยืนและมีระบบบริการสุขภาพและการแพทย์ที่มีประสิทธิภาพ มีการใช้เทคโนโลยีอย่างพอประมาณตามห ...