Browsing by Subject "ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies)"
Now showing items 41-60 of 93
-
การพัฒนาเครื่องมือทางคลินิกสำหรับประเมินความเสี่ยงในการล้มของผู้สูงอายุ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)วัตถุประสงค์หลักของโครงการวิจัยนี้คือ เพื่อพัฒนาเครื่องมือทางคลินิกสำหรับประเมินความเสี่ยงในการล้มของผู้สูงอายุ โดยมีวัตถุประสงค์ย่อยดังนี้ 1. ศึกษาความสามารถและความแม่นยำในการระบุความเสี่ยงในการล้มของผู้สูงอายุ ... -
การพัฒนาเครื่องมือเพื่อประเมินความเสี่ยงทางคลินิกของผู้ป่วยหนักด้วยกระบวนการเรียนรู้ด้วยเครื่อง โดยใช้ฐานข้อมูลผู้ป่วยหนักเพื่อการวิจัยของโรงพยาบาลสงขลานครินทร์
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาตัวในหอผู้ป่วยวิฤตมีความเสี่ยงต่อการเสื่อมสภาพทางคลินิก เช่น ภาวะหัวใจล้มเหลว ภาวะหัวใจขาดเลือด โดยส่วนใหญ่แพทย์และพยาบาลจะประเมินอาการของผู้ป่วยโดยใช้ข้อมูลทางคลินิก ข้อมูลทางพยาธิวิทยาร่วมกับทางสรีรวิทยา ... -
การพัฒนาเครื่องวัดความเข้มข้นของเลือดแบบไม่รุกล้ำเพื่อการดูแลรักษาผู้ป่วยไข้เลือดออกเดงกี่
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562)โรคไข้เลือดออกเดงกี่เป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญของประเทศไทย ช่วงหนึ่งในการดำเนินโรคไข้เลือดออกเดงกี่จะเป็นช่วงวิกฤต ซึ่งผู้ป่วยอาจเกิดอาการช็อกและเสียชีวิตได้ จากสาเหตุสำคัญ คือ การรั่วของพลาสมาออกจากหลอดเลือด ทำให้เลือดมีคว ... -
การพัฒนาเว็บแอปพลิเคชันเพื่อลดภาวะเครียดและวิตกกังวลจากผลกระทบ COVID-19 สำหรับประชาชน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)องค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้การแพร่ระบาดครั้งใหญ่ เป็นสถานการณ์ฉุกเฉินทางสุขภาพในเดือนเมษายน ค.ศ. 2020 จากการแพร่ระบาดของเชื้อ COVID-19 ทำให้ผู้ได้รับผลกระทบนี้ เกิดความเครียด ความวิตกกังวล ดังนั้น การดูแลตนเองเพื่อลดควา ... -
การพัฒนาแนวทางการดำเนินงานบริการเภสัชกรรมทางไกล (Telepharmacy) ในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09-30)ปัจจุบัน สภาเภสัชกรรมได้ออกประกาศ เรื่องการกำหนดมาตรฐานและขั้นตอนการให้บริการเภสัชกรรมทางไกล อย่างไรก็ตาม ในการดำเนินงานจำเป็นต้องมีรายละเอียดเพิ่มเติม เพื่อให้มีแนวทางการดำเนินงานเภสัชกรรมทางไกลที่เป็นไปอย่างต่อเนื่อง ... -
การพัฒนาแนวทางเวชปฏิบัติสำหรับแพทย์และทีมสุขภาพในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในเขต 7 ในรูปแบบเว็บแอพพลิเคชั่น
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)ภูมิหลังและเหตุผล โรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือดเฉียบพลันเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย ทีมสุขภาพจะใช้ข้อมูลจากแนวเวชปฏิบัติของประเทศในการดูแลผู้ป่วย ซึ่งแนวเวชปฏิบัติดั้งเดิมจะอยู่ในรูปแบบสิ่งพิมพ์หรือไฟล์ pdf ... -
การพัฒนาแบบจำลอง คณิตศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และการดำเนินการ สำหรับมาตรการค้นหาวัณโรคแฝงในผู้สัมผัสวัณโรค (ปีที่1)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)วัณโรคเป็นโรคติดเชื้อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญต่อประชากรทั่วโลก ประเทศไทยถูกจัดเป็น 1 ใน 14 ประเทศที่มีปัญหาภาระวัณโรคสูง (high TB burden country) องค์การอนามัยโลกได้กำหนดยุทธศาสตร์ยุติวัณโรค (End TB Strategy) ... -
การพัฒนาและการประเมินชุดทดสอบสำหรับการตรวจหาแอนติบอดีต่อเด็งกี่/เลปโตสไปโรสิส/สครับไทฟัส ชนิด IgM/IgG ในชุดทดสอบเดียวกัน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)ไข้เฉียบพลัน (acute febrile illness หรือ undiffenerentiated fever) เป็นโรคที่พบบ่อยและเป็นปัญหาในประเทศต่างๆ ทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทย อาการสำคัญ คือ ไข้และปวดศีรษะ ซึ่งเป็นอาการที่ไม่จำเพาะและไม่สามารถเจาะจงไปยังโรคหนึ่งโรคใด ... -
การพัฒนาและประเมินตัวอย่างควบคุมคุณภาพเพื่อประกันคุณภาพการตรวจวินิจฉัยการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ทางห้องปฏิบัติการ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-03)การควบคุมคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ประจำวันมีความสำคัญต่อการรายงานผลการทดสอบการตรวจการติดเชื้อเอชไอวีทางซีโรโลยี โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทดสอบด้วยชุดตรวจแบบรวดเร็ว (rapid test) จึงได้พัฒนาตัวอย่างควบคุมคุณภาพชนิดแห้งที่สะดวกต่อก ... -
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนโทรศัพท์มือถือส่งเสริมการเดินทางรับบริการสุขภาพสำหรับผู้สูงวัยในชุมชนเมือง รอบโรงพยาบาลสิรินธร กรุงเทพมหานคร
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนโทรศัพท์มือถือส่งเสริมการเดินทางรับบริการสุขภาพสำหรับผู้สูงวัยในชุมชนเมือง รอบโรงพยาบาลสิรินธร จากสถานการณ์สุขภาพสังคมสูงวัยและปัญหาการเดินทางในกลุ่มคนสูงวัยในชุมชนเมือง กรุงเทพมหานคร มีความสัมพั ... -
การวัดปริมาณน้ำตาลบนอัลบูมินเพื่อติดตามภาวะเบาหวาน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-08)คณะวิจัยได้ต่อยอดงานวิจัย จากสิทธิบัตรที่เกี่ยวกับแอปตาเมอร์ที่จับจำเพาะกับโปรตีนไกลเคทเตดอัลบูมิน และอัลบูมิน ศึกษาคุณสมบัติแอปตาเมอร์ดังกล่าวเพิ่มเติม เพื่อพัฒนาให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น และนำแอปตาเมอร์ดังกล่าวไปพัฒนาต่อ ... -
การวิจัยเพื่อคิดค้นและพัฒนาเทคนิคใหม่ในการตรวจหารอยโรคก่อมะเร็งปากมดลูกระยะเริ่มต้นและโรคที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อไวรัสแปปิโลมา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-11)การแสดงออกของโปรตีนก่อมะเร็ง E6 ในระดับที่สูงของเชื้อไวรัสแปปิลโลมาชนิด 16 และการมีภาวะเมธิลเลชั่นที่สูงในยีนแอลหนึ่ง จัดเป็นตัวบ่งชี้ทางชีวภาพที่ได้รับการยอมรับว่ามีความจำเพาะกับการที่เซลล์มีความเสี่ยงจะพัฒนาไปเป็นมะเร็งปากมดลูก ... -
การวิจัยแผ่นเซลล์กระดูกอ่อนสำหรับการรักษาโรคเข่าเสื่อม ปีที่ 1
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)ในงานวิจัยนี้ กลุ่มผู้วิจัยได้พัฒนาเทคโนโลยีการสร้างแผ่นเซลล์มาใช้กับเซลล์กระดูกอ่อนเพื่อเป็นวิธีใหม่ในการรักษาโรคข้อเสื่อมและอาการบาดเจ็บที่กระดูกอ่อน ซึ่งทางกลุ่มผู้วิจัยได้ทำการศึกษาถึงผลของการใช้แสตมป์เจลาติน ... -
การวิจัยและพัฒนาการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ระยะที่ 3 : บทความวิชาการ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)บทความวิชาการ ภายใต้ชุดโครงการวิจัยและพัฒนาการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ระยะที่ 3 -
การศึกษาการกระจายและการใช้เครื่องเอ็มอาร์ไอในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)การกระจายและการใช้งานเครื่องเอ็มอาร์ไอในประเทศไทย เอ็มอาร์ไอเป็นเครื่องมือแพทย์ที่ใช้เทคโนโลยีสูง มีราคาแพงและมีค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษามาก งานวิจัยชิ้นนี้จะทำการประเมินเทคโนโลยีเอ็มอาร์ไอในส่วนของการกระจายและการใช้งานเ ... -
การศึกษาความไว ความจำเพาะ และความถูกต้อง ของการใช้ชุดตรวจคัดกรองแอนติบอดีของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 เปรียบเทียบกับการตรวจโดยวิธีขยายสารพันธุกรรม (Real-time PCR) ในการวินิจฉัยภาวะติดเชื้อในผู้ป่วยที่ทำหัตถการทางสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยาฉุกเฉิน และบุคลากรทางการแพทย์
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-01)ที่มาและเหตุผล เพื่อศึกษาประสิทธิภาพ (ความไว ความจำเพาะ ความแม่นยำ) ของชุดตรวจ Baiya’s Rapid Covid-19 IgM/IgG test kit ในการวินิจฉัยการติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ในผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษา ทำหัตถการทางสูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยาฉุกเฉิน ... -
การศึกษาคุณสมบัติการลดการเพิ่มจำนวนไวรัสของเซลล์ที่ติดเชื้อ และคุณสมบัติการเกิด cross-reactivity และลักษณะเอพิโทปของโมโนโคลนอลแอนติบอดีมนุษย์ที่เฉพาะต่อโปรตีน NS1 ของเชื้อเดงกี่ไวรัส (ปีที่ 2)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)โรคไข้เดงกี่และไข้เลือดออกเป็นหนึ่งในโรคที่เกิดการติดต่อโดยยุงที่มีความสำคัญทางสาธารณสุข ซึ่งอาการรุนแรงของโรคไข้เลือดออกส่วนใหญ่เกิดจากการมีปริมาณไวรัสในกระแสเลือดในปริมาณมาก โดยมีสาเหตุใหญ่เกิดจากการติดเชื้อครั้งที่สอง ... -
การศึกษาประสิทธิผลรักษาและความปลอดภัยของยายับยั้งการหลั่งกรดกลุ่ม Proton Pump Inhibitors
(สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2555-12)ปัจจุบันยากลุ่ม Proton pump inhibitors (PPIs) ที่ได้รับการจัดให้อยู่ในบัญชียาหลักแห่งชาติ ฉบับปี พ.ศ. 2555 ได้แก่ ยา omeprazole รูปแบบรับประทาน ซึ่งได้รับการจัดให้อยู่บัญชีประเภท ก. ส่วนยาฉีด omeprazole และยาฉีด pantoprazole ... -
การศึกษาประสิทธิผลและประสิทธิภาพของวัสดุปิดแผลนาโนไบโอเซลลูโลสเคลือบคริสตัลเงินนาโนสีฟ้าในการรักษาแผลเบาหวานเรื้อรัง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-03)การพัฒนาแผ่นปิดแผลนาโนไบโอเซลลูโลสเคลือบคริสตัลเงินนาโนสีฟ้าได้รับทุนจากสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยคุณสมบัติของนาโนไบโอเซลลูโลสสามารถดูดซับน้ำได้ถึง 200 เท่าของน้ำหนักแห้งของตัวเองและมีรูพรุ ... -
การศึกษาประสิทธิภาพของ Fungal quorum sensing molecule ชนิด Farnesol ต่อพยาธิกำเนิดและปัจจัยส่งเสริมความรุนแรงของโรคในเชื้อรา Pseudallescheria/ Scedosporium complex (ปีที่ 2)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562)โรค Scedosporiosis ในประเทศไทยส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อ Scedosporium boydii ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีว่าสามารถทนต่อยาต้านเชื้อราและเป็นสาเหตุสำคัญทำให้เสียชีวิตจากการติดเชื้อ อวัยวะส่วนใหญ่ที่แสดงพยาธิสภาพของโรคคือสมองบวมและความผิ ...