เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "Universal Health Coverage"
แสดงรายการ 61-80 จาก 141
-
การวิเคราะห์และพยากรณ์ค่าใช้จ่ายด้านยาผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไปในระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ และหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-08-31)ค่าใช้จ่ายด้านยาเป็นส่วนสำคัญของค่าใช้จ่ายโดยรวมด้านสุขภาพ และมีการเติบโตอย่างรวดเร็วในระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการผู้ป่วยนอก การวิจัยนี้วิเคราะห์ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ของการสั่งใช้ยาในปี 2546 – 2550 สำหรับกลุ่มข้อบ่งใช้ ... -
การศึกษาการเพิ่มอัตราการเข้าถึงบริการชุดสิทธิประโยชน์การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่ส่งเสริมการเกิดอย่างมีคุณภาพ ผ่าน Telehealth
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-06)โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นโครงการที่ทำให้ประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึงบริการทางการแพทย์ได้อย่างทั่วถึง โดยเฉพาะการให้ความสำคัญของบริการส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค (Promotion and Prevention, P&P) ซึ่งเป็นสิทธิประโยช ... -
การศึกษาความเป็นไปได้ในการเพิ่มชุดสิทธิประโยชน์ด้านจิตเวชในประกันสุขภาพสำหรับคนต่างด้าวและบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)การศึกษานี้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการเพิ่มชุดสิทธิประโยชน์ด้านจิตเวชในประกันสุขภาพ สำหรับคนต่างด้าวและบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิในประเทศไทย เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบายในการนำบริการจิตเวชสู่ ... -
การศึกษาคุณภาพชีวิตและผลลัพธ์ทางคลินิกในการล้างไตผ่านทางช่องท้องด้วยวิธี Automated Peritoneal Dialysis เปรียบเทียบกับ Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis ในผู้ป่วยเด็กโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09-30)บทนำ : การล้างไตผ่านทางช่องท้อง (Peritoneal Dialysis, PD) เป็นการบำบัดทดแทนไตตัวเลือกส่วนใหญ่สำหรับผู้ป่วยเด็กโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้าย (End Stage Kidney Disease, ESKD) ซึ่ง Automated Peritoneal Dialysis (APD) เป็นวิธีล้า ... -
การศึกษาทบทวนระบบและพัฒนาข้อเสนอการบริหารเวชภัณฑ์จำเป็นที่มีปัญหาการเข้าถึงภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-04)การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาระบบการบริหารจัดการระดับประเทศของไทย ซึ่งได้เริ่มดำเนินการในช่วงปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 โดยสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ซึ่งในขณะนั้นเป็นผู้นำนโยบายการประกาศมาตรการบังคับใช้สิทธิตามสิทธิบัตรโดยรัฐ ... -
การศึกษาประสิทธิผลของการบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิและพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในเขตปทุมวัน ภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบของบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิตามนโยบายประกันสุขภาพถ้วนหน้าของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ และเพื่อศึกษาภาวะสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ ความคาดหวังและความพึงพอใจต่อบริก ... -
การศึกษาพัฒนาประสิทธิภาพกระบวนการจัดซื้อและกระจายเวชภัณฑ์ร่วมของกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-02-10)งานวิจัยนี้จึงมุ่งเน้นที่การศึกษา วิเคราะห์ กระบวนการจัดซื้อและกระจายเวชภัณฑ์ร่วมของกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเพื่อหาแนวทางในการปรับปรุงกระบวนการเพื่อให้เกิดการดำเนินการที่เป็นรูปธรรม พร้อมทั้งออกแบบและพัฒนาระบบนำร่อ ... -
การศึกษาลักษณะของโรงพยาบาลในประเทศไทยที่มีผลดำเนินการขาดทุนหรือกำไรหลักจากปีแรกของการมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะศึกษาลักษณะของโรงพยาบาลในประเทศไทยที่มีผลดำเนินการขาดทุนเปรียบเทียบกับโรงพยาบาลที่มีผลดำเนินการกำไร โดยวิเคราะห์จากข้อมูลของโรงพยาบาลทั่วประเทศที่สังกัดกระทรวงสาธารณสุขจำนวน 640 โรงพยาบาล ... -
การศึกษาสถานการณ์การจัดบริการทันตสุขภาพตามนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)การศึกษานี้จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทราบสถานการณ์การจัดบริการทันตสุขภาพภายหลังนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ว่านโยบายได้ส่งผลกระทบต่อการมาใช้และการให้บริการรักษารวมถึงชุดสิทธิประโยชน์ทางทันตกรรมของโรงพยาบาลและงานส ... -
การศึกษาเปรียบเทียบระบบบริการจ่ายยาตามใบสั่งแพทย์ให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ที่โรงพยาบาลกับที่ร้านยาคุณภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)บริการจ่ายยาต่อเนื่องตามใบสั่งแพทย์แก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรังโดยร้านยาเอกชนภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของไทยเป็นรูปแบบใหม่ของเครือข่ายบริการสุขภาพระหว่างร้านยาเอกชนกับหน่วยบริการปฐมภูมิหลักภายใต้ระบบประกันสุขภาพฯ ... -
การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567)ข้อเสนอเชิงนโยบาย (Policy Brief) การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในประเทศไทย เนื้อหาประกอบด้วย 1) สถานการณ์การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 2) งบประมาณและรายจ่ายด้านการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 3) ผลงานบริการสร้างเสร ... -
การสร้างและจัดการองค์ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค: ทบทวนผลการดำเนินงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ มุ่งสู่ทางข้างหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-06)การประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า พ.ศ. 2567 ได้จัดขึ้นระหว่างวันที่ 11-12 ธันวาคม พ.ศ. 2567 ภายใต้หัวข้อ “การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค: กุญแจสู่ความสำเร็จของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า” เพื่อเป็นการแ ... -
การสร้างและจัดการองค์ความรู้สำหรับการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า พ.ศ. 2566 : สถานการณ์ ความก้าวหน้า ความท้าทายและก้าวต่อไปในอนาคตของระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-04)การประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า พ.ศ. 2566 ทบทวนอดีต และแถลงการณ์สู่อนาคต ได้จัดขึ้นระหว่างวันที่ 12-13 ธันวาคม พ.ศ. 2566 เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาการระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ... -
การสังเคราะห์หลักฐานเชิงประจักษ์เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อกำหนดชุดสิทธิประโยชน์ของการให้บริการบำบัดทดแทนไตแบบต่อเนื่องสำหรับผู้ป่วยวิกฤตที่มีภาวะไตวายเฉียบพลันในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01)ไตวายเฉียบพลันเป็นภาวะที่ไตเกิดการสูญเสียการทำงานลงในช่วงเวลาเป็นชั่วโมงหรือเป็นวัน หากรักษาด้วยยาไม่หาย การบำบัดทดแทนไตจึงเข้ามามีบทบาทสำคัญเพื่อให้ผู้ป่วยมีชีวิตอยู่รอดได้ ซึ่งการบำบัดทดแทนไตในปัจจุบันมีอยู่ด้วยกัน 4 ... -
การอภิบาลบทบาทการซื้อบริการในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)การศึกษานี้เพื่อประเมินการอภิบาลและการจัดการสำหรับซื้อบริการสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทยของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพโดยการทบทวนวรรณกรรมและเอกสารที่เกี่ยวข้อง การรับฟังบรรยายสรุปจากเจ้า ... -
การเงินการคลังบริการสุขภาพช่องปากในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)การศึกษานี้ประกอบด้วย การวิเคราะห์ข้อมูลรายจ่ายบริการสุขภาพช่องปาก จากรายจ่ายภาครัฐและสวัสดิการต่างๆ ร่วมกับรายจ่ายภาคครัวเรือน โดยใช้การวิเคราะห์รายจ่ายภาครัฐและสวัสดิการต่างๆ 2 วิธี วิธีแรกคือ วิเคราะห์จากข้อมูลรายจ่าย ... -
การเปรียบเทียบการบริหารจัดการและสิทธิประโยชน์ทางการแพทย์ระหว่างกองทุนประกันสุขภาพบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิกับกองทุนหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า พ.ศ. 2563
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-03)กองทุนประกันสุขภาพบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิตั้งขึ้นมาเมื่อปี พ.ศ. 2553 เพื่อให้สิทธิ (คืนสิทธิ) ขั้นพื้นฐานด้านสาธารณสุขแก่บุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ เนื่องจากผู้มีสิทธิในพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ... -
การเปรียบเทียบการบริหารจัดการและสิทธิประโยชน์ทางการแพทย์ระหว่างระบบประกันสังคมกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า พ.ศ. 2563
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-03-31)แม้ว่าประเทศไทยจะมีระบบหลักประกันสุขภาพครอบคลุมคนไทยทุกคนตั้งแต่ พ.ศ. 2545 แต่ปัจจุบันยังมีระบบหลักประกันสุขภาพสำคัญ 3 ระบบใหญ่ ที่ยังมีความเหลื่อมล้ำเพราะมีความเป็นมา การบริหารจัดการ อัตราและวิธีการจ่ายเงินให้สถานพยาบาล ... -
การเปรียบเทียบความต่อเนื่องสม่ำเสมอของการรับประทานยาต้านไวรัสเอดส์ ระหว่างโรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป ภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-12)ความต่อเนื่องสม่ำเสมอ (Adherence) ของการรับประทานยาต้านไวรัสเอดส์ มากกว่า 95% จึงจะมีประสิทธิภาพของยาเพียงพอในการกดจำนวนเชื้อไวรัส ไม่เกิดโรคติดเชื้อฉวยโอกาส ลดโอกาสของการแพร่เชื้อดื้อยาไปสู่ผู้อื่น และทำให้ผู้ป่วยมีสุขภ ... -
การเปลี่ยนแปลงปัจจัยทางด้านการจัดการกับการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ในโครงการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : กรณีศึกษา จังหวัดในเขต 6
(Health Systems Research Institute, 2546)การวิจัยแบบภาคตัดขวางครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการเปลี่ยนแปลงปัจจัยทางด้านการจัดการ ได้แก่ การจัดการงบประมาณ บุคลากร วัสดุอุปกรณ์ ครุภัณฑ์ เวชภัณฑ์ และด้านการมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการให้บริการสร้างเสริมสุขภาพ ...