Now showing items 4511-4530 of 5640

    • ลงทะเบียนทุกจุด ไม่สะดุดทันเวลา : โรงพยาบาลภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ 

      สุจิต รัตนปัญญา (โรงพยาบาลภูเขียว, 2552-07-16)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย R2R : เพิ่มคุณค่า พัฒนาคน พัฒนาบริการ ครั้งที่ 2 ในหัวข้อ ห้องย่อยที่ 2 : R2R in Secondary care แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับนักวิจัย R2R 10 กรณีศึกษาที่ได้รับร ...
    • ลงทะเบียนผู้ป่วยเบาหวาน 

      เพชร รอดอารีย์; Phet Rotaree (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      วัตถุประสงค์ของงานวิจัย เพื่อศึกษาความชุกของโรคแทรกซ้อนของเบาหวาน ความชุกของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคแทรกซ้อนของเบาหวาน และประเมินคุณภาพการดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวาน รูปแบบการวิจัย การดําเนินการวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive ...
    • ลดความเหลื่อมล้ำ สร้างความเป็นธรรม ระบบสุขภาพมาตรฐานเดียว 

      บุญยืน ศิริธรรม (ผู้แทนกลุ่มภาคประชาสังคม, 2555-05)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในทศวรรษที่สอง วันที่ 21-22 มีนาคม 2555 ณ ห้องคอนเวนชั่น (ชั้น 4) อาคารคอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ โรงแรมรามาการ์เด้นส์ ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพมหานคร
    • ลดบริโภคสุราในงานบุญศพ 

      ประจักร กองตัน (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-02-20)
    • ลอจิสติคส์ - การส่งกำลังบำรุง 

      พรชัย สิทธิศรัณย์กุล; Pornchai Sithisarankul; สมชัย บวรกิตติ; Somchai Bovornkitti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-04)
      คำ logistics มาจากภาษากรีกโบราณ logos แปลว่า สัดส่วน คำ การคำนวณ เหตุผล การปราศรัย สุนทรพจน์ ลอจิสติคส์ เป็นคำที่มีที่มาจากทางทหาร หมายถึง การส่งกำลังบำรุง ในปัจจุบันมีผู้ให้นิยามว่า เป็นศิลปะการจัดการห่วงโซ่อุปทาน (supply ...
    • ละครชุมชน เพื่อเสริมสร้างให้เยาวชนมีความเข้าใจที่ถูกต้องต่อคนพิการ 

      จิรภัทร กิตติวรากูล; Jirapat Kittiwarakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554)
      วัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อ 1. เพื่อให้เยาวชนกลุ่มเรียนรู้ได้ศึกษา และมีความเข้าใจที่ถูกต้องต่อคนพิการ 2. เพื่อผลิตละครชุมชน เผยแพร่ความรู้ผสานความบันเทิงให้เยาวชนทั่วไปเกิดความเข้าใจที่ถูกต้องต่อคนพิการ 3. เพื่อศึกษากร ...
    • ลักษณะความเหลื่อมล้ำในแต่ละมิติของลูกบาศก์หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: ข้อค้นพบจากข้อมูลสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2563 

      ทีปกร จิร์ฐิติกุลชัย; Theepakorn Jithitikulchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      ประเทศไทยสามารถบรรลุเป้าหมายในการพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (universal health coverage: UHC) แต่ยังมีความท้าทายที่สำคัญด้านความไม่เสมอภาคของผู้ใช้บริการระบบสาธารณสุข ได้แก่ ความคุ้มครองภาระค่าใช้จ่ายที่ไม่เท่าเทีย ...
    • ลักษณะทางคลินิกของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ได้รับการวินิจฉัยก่อนอายุ 30 ปีในประเทศไทย 

      วทิพย์ ตั้งจิตติโภคิน; Watip Tangjittipokin; ทัศนีย์ นาคดนตรี; Tassanee Narkdontri; นิภาภรณ์ ธีระวัฒนพงศ์; Nipaporn Teerawattanapong; ณัฐเชษฐ์ เปล่งวิทยา; Nattachet Plengvidhya (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      ในปัจจุบัน ประเทศไทยยังขาดข้อมูลเกี่ยวกับโรคเบาหวานที่วินิจฉัยเมื่ออายุน้อย การศึกษาแบบพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่ออธิบายชนิดของโรคเบาหวาน ลักษณะทางคลินิกในผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยโรคก่อนอายุ 30 ปี จากการลงทะเบียนผู้ ...
    • ลักษณะทางประชากรและสังคมของบุคคลที่เสี่ยงต่อวงจรอุบาทว์ “โง่-จน-เจ็บ”: ข้อค้นพบจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 

      จิรพันธุ์ จรัสภัทรโรจน์; Jiraphan Jaratpatthararoj; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; จเด็จ ธรรมธัชอารี; Jadej Thammatacharee; กาญจนา ศิริโกมล; Kanjana Sirigomon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      เป้าประสงค์หลักของการมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า คือการทำให้ประชาชนมีสิทธิในการใช้บริการสุขภาพโดยไม่มีอุปสรรคด้านการเงิน เป็นการสร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสุขภาพที่จำเป็นสำหรับคนทุกคน และลดภาระรายจ่ายด้านสุขภาพของครัวเรือน ...
    • ลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจ การใช้บริการสุขภาพและผลลัพธ์ของการมีครรภ์ ระหว่างมารดาวัยรุ่นกับมารดาวัยผู้ใหญ่ ในโรงพยาบาลสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 

      ศรีสมัย เชื้อชาติ; Srisamai Chaeuchat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การศึกษาเปรียบเทียบข้อมูลลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจ การใช้บริการสุขภาพ และผลลัพธ์ของการมีครรภ์ของสตรีอายุ 13-19 ปี กับสตรีอายุ 20-25 ปี ที่ได้จากการสัมภาษณ์และจากเวชระเบียนของสตรีอายุ 13-25 ปี ที่มาคลอดที่โรงพยาบาลสามร้อยยอด ...
    • ลักษณะปัญหาการรับบริการสุขภาพภายใต้ระบบประกันสุขภาพต่างๆ 

      วิจิตร ระวิวงศ์; Wichit Rawiwong; ชาย ธีระสุต; ประวิ อ่ำพันธ์ุ; ทิพากรณ์ โพธิ์ถวิล; ธัญญา สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      ลักษณะปัญหาการรับบริการสุขภาพภายใต้ระบบประกันสุขภาพต่าง ๆ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์สภาพปัญหาของผู้รับบริการภายใต้ระบบประกันสุขภาพ 5 ระบบที่มีอยู่ในปัจจุบันและผู้รับบริการที่อยู่นอกระบบประกันสุขภาพ 2) ...
    • ลักษณะสำคัญของการวิจัย R2R และ 10 ไม่ R2R 

      อัครินทร์ นิมมานนิตย์; Akarin Nimmannit; เชิดชัย นพมณีจำรัสเลิศ; Cherdchai Nopmaneejumruslers; กุลธร เทพมงคล; Kullathorn Thephamongkhol; สรินยา งามทิพย์วัฒนา; Sarinya Ngarmtipvatana; ลดาทิพย์ สุวรรณ; Ladathip Suwan; รวีวรรณ กิติพูลวงษ์วนิช; Raweewan Kitipoonwongvanich (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-06)
    • ลักษณะและผลการรักษาผู้ป่วยวัณโรคจากเรือนจำและผู้ป่วยวัณโรคทั่วไป ในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย 

      อมรรัตน์ วิริยะประสพโชค; Amornrat Wiriyaprasobchok; จินตนา งามวิทยาพงศ์-ยาไน; Jintana Ngamvithayapong-Yanai; จิราภรณ์ วงศ์ใหญ่; Jiraporn Wongyai; ศุภเลิศ เนตรสุวรรณ; Supalert Nedsuwan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      ความเป็นมา: ผู้ต้องขังเป็นประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อวัณโรคและโรคเอดส์ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างผู้ป่วยวัณโรคในเรือนจำกับผู้ป่วยวัณโรคทั่วไปในอำเภอเมืองจังหวัดเชียงราย ในเรื่องอัตราการป่วย ...
    • ลูกประคบไทยขึ้นแท่นโอลิมปิค 

      กองบรรณาธิการ (2551-08)
    • วัคซีนป้องกันวัณโรค: ความสำคัญและแนวทางการศึกษาวัคซีนป้องกันวัณโรคในประเทศไทย 

      นิธินันท์ มหาวรรณ; Nithinan Mahawan; ธีระ วรธนารัตน์; Thira Woratanarat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-06)
      ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีปัญหาวัณโรคระดับรุนแรง ทั้งวัณโรคทั่วไป วัณโรคและเอดส์ และวัณโรคดื้อยาหลายขนาน ทั้งนี้ อาจเนื่องมาจากการป้องกันและควบคุมวัณโรคทุกระดับยังขาดประสิทธิภาพและประสิทธิผล การใช้วัคซีนเป็นวิธีการหนึ่งในก ...
    • วัคซีนไข้หวัดใหญ่ 

      อรลักษณา แพรัตกุล; Ornlaksana Paeratakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      โรคไข้หวัดใหญ่เป็นการติดเชื้อไวรัสในคนที่พบทั่วโลก เกิดขึ้นทั้งแบบตามฤดูกาลกับแบบการระบาดใหญ่ เนื่องจากไวรัสไข้หวัดใหญ่มีการกลายพันธุ์อยู่ตลอดเวลา และในยุคโลกาภิวัตน์ ซึ่งผู้คนในภูมิภาคต่างๆ ของโลกติดต่อเคลื่อนย้ายถิ่นฐา ...
    • วัฒนธรรม ความตาย กับความหลากหลายทางชาติพันธุ์ : มอญ โซ่ง กะเหรี่ยง ม้ง เย้า 

      สมรักษ์ ไชยสิงหกานนท์; สรินยา คำเมือง; อธิตา สุนทโรทก (สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ, 2550-07)
      พระไพศาล วิสาโล พระนักคิดนักปฏิบัติที่มีบทบาทสำคัญในการกระตุ้นให้สังคมไทยได้เรียนรู้จากความตาย เคยกล่าวว่า แม้ความตายจะเป็นสิ่งที่สังคมทุกวันนี้ไม่ได้นึกถึงและไม่ได้ให้ความสำคัญเท่าไรนัก แต่แท้ที่จริงแล้ว ความตายมีบทบาทส ...
    • วัฒนธรรมความเชื่อกับโรคมะเร็งในชุมชนกะเหรี่ยงแม่สะเรียง 

      โสภาพรรณ สิงห์สา (สถานีอนามัยสบหาร, 2552-07-16)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย R2R : เพิ่มคุณค่า พัฒนาคน พัฒนาบริการ ครั้งที่ 2 ในหัวข้อ ห้องย่อยที่ 1 : R2R in Primary care แนะนำ 10 ผลงาน R2R ดีเด่น ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับนักวิจัย ...
    • วัณโรคชนิดดื้อยาหลายขนาน(MDR-TB) คุกคามประเทศไทยจริงหรือ : รายงานการทบทวนเอกสารวิชาการชุดโครงการเรื่อง วัณโรค 

      เพชรวรรณ พึ่งรัศมี; Petchawan Pungrassami; วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      วัณโรคชนิดดื้อยาหลายขนาน (MDR-TB) คุกคามประเทศไทยจริงหรือ? ผลการทบทวนรายงานการวิจัย 55 เรื่อง ระหว่าง พ.ศ. 2511 – 2541วัณโรคชนิดดื้อยาหลายขนานถือได้ว่าเป็นการระบาดลูกที่สาม (third epidemic) และอยู่ในระดับภาวะฉุกเฉินโลก ...
    • วัณโรคช่องท้อง 

      กอบกุล เมืองสมบูรณ์; Kobkun Muangsomboon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      วัณโรคช่องท้องพบได้ประมาณ 1/3 ของผู้ป่วยวัณโรคปอด พบได้มากขึ้นจากอุบัติการโรคติดเชื้อเอชไอวีที่เพิ่มขึ้น ปัจจัยเสี่ยงต่อการติดเชื้อวัณโรคในช่องท้อง ได้แก่ ผู้ที่มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง ผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ป่วยที่ได้รับยาก ...