• การสร้างเสริมชุมชนเครือข่ายในโครงการโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล 

      ชัยรัตน์ ฉายากุล; สุรศักดิ์ ลีลาอุดมลิปิ; พาขวัญ ปุณณุปูรต; ผุสดี ปุจฉาการ; นภาภรณ์ ภูริปัญญวานิช; วินัย วนานุกูล; นริสา ตัณฑัยย์; วุฒิรัต ธรรมวุฒิ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      โครงการวิจัยเพื่อพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาโรงพยาบาลที่เข้าร่วมในโครงการโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU Hospital) ในประเทศไทย ซึ่งดำเนินการภายใต้คณะอนุกรรมการส่ง ...
    • การสร้างเสริมศักยภาพผู้บริหารระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ 

      ประวิทย์ เตติรัตน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-02-19)
    • การสร้างเสริมสุขภาพกําลังพล : คู่มือ 

      กมลพร สวนสมจิตร; Kamonman Suansomchirt (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      โครงการสร้างเสริมสุขภาพกำลังพล กรมยุทธบริการทหารและครอบครัว เป็นโครงการนำร่องการวิจัยเชิงปฏิบัติการ วัตถุประสงค์เพื่อหาวิธีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ และสิ่งแวดล้อมทางสังคม โดยมุ่งหวังให้กำลังพลและ ...
    • การสร้างเสริมสุขภาพกําลังพล กรมยุทธบริการทหารและครอบครัว 

      กมลพร สวนสมจิตร; Kamonman Suansomchirt (สํานักงานแพทย์ทหาร สํานักงานผู้บัญชาการทหารสูงสุด, 2543)
      การสร้างเสริมสุขภาพกำลังพลกรมยุทธบริการทหาร และครอบครัว โครงการสร้างเสริมสุขภาพกำลังพล กรมยุทธบริการทหารและครอบครัว เป็นโครงการนำร่องการวิจัยเชิงปฏิบัติการ วัตถุประสงค์เพื่อหาวิธีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพ ...
    • การสร้างเสริมสุขภาพตามวิถีมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ 

      มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. สถาบันวิจัยระบบสุขภาพภาคใต้ (สมาคมจันทร์เสี้ยวการแพทย์และสาธารณสุขสถาบันวิจัยระบบสุขภาพภาคใต้, 2552-04)
      สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) สนับสนุนให้สถาบันวิจัยระบบสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สวรส.ภาคใต้ มอ.) และสมาคมจันทร์เสี้ยวการแพทย์และสาธารณสุข ...
    • การสร้างเสริมสุขภาพพนักงานอุตสาหกรรมแปรรูปหินแกรนิต: กรณีศึกษาในจังหวัดระยอง 

      จันทร์ทิพย์ อินทวงศ์; สุนทร เหรียญภูมิการกิจ; ชาติวุฒิ จำจด; เกษสุดา คำแก้ว (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การศึกษานี้เป็นการศึกษาภาวะสุขภาพ ปัจจัยเสี่ยง การสร้างเสริมสุขภาพพนักงานตามแนวคิดการปฏิบัติการพยาบาลอาชีวอนามัย ระดับความรู้เกี่ยวกับโรคประสาทหูเสื่อมจากเสียงดังและโรคปอดฝุ่นหิน และพฤติกรรมการใช้จุกอุดหูก่อนและหลังการใช ...
    • การสร้างเสริมสุขภาพสำหรับพนักงานโรงงานและคนงานก่อสร้าง : บทบาทของการตลาดเพื่อสังคม 

      จอมขวัญ โยธาสมุทร; เชิญขวัญ ภุชฌงค์; ทรงยศ พิลาสันต์; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ศิริญญา ธีระอนันต์ชัย; รุ่งนภา คำผาง; รักมณี บุตรชน; กัลยา ตีระวัฒนานนท์ (โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ, 2553-08)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์ในกลุ่มพนักงานโรงงานและคนงานก่อสร้างที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพทั้งในระดับบุคคลและชุมชนรวมถึงมาตรการสร้างเสริมสุขภาพที่มีอยู่ในปัจจุบัน เพื่อให้ได้ข้อเสนอแนะสำหรับการ ...
    • การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในประเทศไทย 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute; มูลนิธิเพื่อการพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ; International Health Policy Program Foundation (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567)
      ข้อเสนอเชิงนโยบาย (Policy Brief) การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในประเทศไทย เนื้อหาประกอบด้วย 1) สถานการณ์การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 2) งบประมาณและรายจ่ายด้านการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 3) ผลงานบริการสร้างเสร ...
    • การสร้างเสริมสุขภาพในสถานที่ทำงาน 

      พิสมัย จันทวิมล; องค์การอนามัยโลก; World Health Organization (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      เอกสารฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะนำเสนอกลยุทธ์เบื้องต้นเพื่อการส่งเสริมสุขภาพในสถานที่ทำงานโดยทั่วไปที่เป็นสากล ดังนั้นจึงได้กำหนดหัวข้อว่า มาตรการระดับสากลขององค์การอนามัยโลก เพื่อส่งเสริมการสร้างเสริมสุขภาพในสถานที่ทำงาน ...
    • การสร้างและจัดการความรู้อนาคตของการพัฒนาอุตสาหกรรมยาไทยและยาสมุนไพร 

      นพมาศ สุนทรเจริญนนท์; วิชิต เปานิล; สมภพ ประธานธุรารักษ์; วารุณี สุนทรเจริญนนท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      บทความนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันของอุตสาหกรรมยาไทยและยาสมุนไพร เพื่อนำไปสู่การเสนอแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมนี้ให้ได้ตามมาตรฐาน GMP-สมุนไพร โดยใช้แนวคิดการจัดการความรู้ (Knowledge management) ...
    • การสร้างและจัดการความรู้เพื่อพัฒนากำลังคนแพทย์แผนไทย แพทย์พื้นบ้านและแพทย์ทางเลือกในประเทศไทยอย่างยั่งยืน 

      ขวัญชัย วิศิษฐานนท์; Khwanchai Visithanon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      การสร้างและจัดการความรู้เพื่อพัฒนากำลังคนแพทย์แผนไทย แพทย์พื้นบ้าน และแพทย์ทางเลือก เป็นผลจากการศึกษาวิเคราะห์เชิงระบบ โดยการทบทวนเอกสาร การสุ่มสำรวจข้อมูลความคิดเห็นของผู้เข้าสอบขึ้นทะเบียนประกอบโรคศิลป์ การสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ ...
    • การสร้างและจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนการพัฒนาบริการการแพทย์นอกกระแสหลัก : การแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์ทางเลือก 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Ponpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยสาธารณสุข, 2549)
      การบูรณาการการแพทย์นอกกระแสหลัก (unconventional medicine) เข้าสู่ระบบบริการสุขภาพ เป็นทั้งเป้าหมายและยุทธศาสตร์ในการพัฒนาการแพทย์นอกกระแสหลัก การบูรณาการดังกล่าวควรดำเนินการให้มีการใช้จุดแข็งของการแพทย์แต่ละระบบ ...
    • การสร้างและพัฒนาแพลตฟอร์มการแก้ไขจีโนมเพื่อการรักษาอย่างจำเพาะในโรคพันธุกรรมชนิดรุนแรง (ปีที่ 2) 

      กัญญา ศุภปีติพร; Kanya Suphapeetiporn; นิพัญจน์ อิศรเสนา ณ อยุธยา; Nipan Israsena; วรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์; Vorasuk Shotelersuk; นริศรา สุรทานต์นนท์; Narissara Suratannon; แพรวพรรณ อิงรุ่งเรืองเลิศ; Praewphan Ingrungruanglert; รุ่งนภา อิทธิวุฒิ; Rungnapa Ittiwut (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-02)
      โรคที่เกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรมมีความหลากหลายมาก บางโรคมีความรุนแรงทำให้ผู้ป่วยทุพพลภาพหรือเสียชีวิตในเวลาไม่นาน ภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องแบบปฐมภูมิ หรือ Primary Immunodeficiency Disorders (PIDs) เป็นโรคทางพันธุกรรม ...
    • การสร้างและหาประสิทธิผลวิธีสอนเรื่องรายการอาหารแลกเปลี่ยนไทยหมวดผักสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน 

      โภคิน ศักรินทร์กุล; Pokin Sakarinkhul (สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2552-06)
    • การสลายนิ่วโดยเครื่องสลายนิ่วในโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย 

      เทอดทูล นิ่มพงษ์ศักดิ์; Therdtoon Nimpongsak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การศึกษาความสำเร็จของการสลายนิ่วในไตและท่อไต ที่โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชท่าบ่อ โดยการใช้เครื่องสลายนิ่วระบบ E2000 ESWL ตั้งแต่เดือนมีนาคม 2549 - มีนาคม 2550 ในผู้ป่วย 370 ราย นิ่วขนาด 5-37 มม. เมื่อติดตามผลการรักษา 1 เดือน ...
    • การสอนเพศศึกษาโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น 

      วัชระ เอี่ยมรัศมีกุล; Wachara Iamratsameekool (สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด, 2546)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและศึกษาประสิทธิผลและความพึงพอใจของการเรียนการสอนเพศศึกษาเนื้อหาใหม่สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องเพศศึกษาและให้ครูเป็นผู้สอน ...
    • การสอบสวนโรคมือ เท้า และปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อำเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี 

      มาลี สิริสุนทรานนท์; Malee Sirisuntranont; สมพร หุ่นเลิศ; Somporn Hunlert; ปองปรีดา คงดั่น; Pongpreeda Kongdun; กิตติศักดิ์ จรัสทอง; Kittisak Charustong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การศึกษาเชิงพรรณนาเพื่อยืนยันการวินิจฉัยโรคมือ เท้าและปาก สืบค้นหาสาเหตุ ค้นหาผู้ป่วยใหม่ในพื้นที่และผู้สัมผัสใกล้ชิด ศึกษาวิธีการถ่ายทอดโรค และค้นหาแนวทางป้องกันควบคุมโรคในเหตุการณ์ระบาดในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กแห่งหนึ่งในอำเภอไทรน้อย ...
    • การสอบสวนโรคในภาวะการระบาดของ Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) ดำเนินการอย่างไร กรณีศึกษาจากผู้ป่วย COVID-19 รายแรกจากยุโรปในประเทศไทย 

      ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; สุทธนันท์ สุทธชนะ; Suthanun Suthachana; ศุภณัฐ วงศานุพัทธ์; Suphanat Wongsanuphat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายกระบวนการสอบสวนโรค coronavirus disease 2019 (COVID-19) ผ่านกรณีศึกษาของผู้ป่วย COVID-19 ที่จังหวัดชลบุรี ซึ่งเป็นผู้ป่วยยืนยัน COVID-19 จากทวีปยุโรปรายแรกในประเทศไทย ผู้ป่วยเป็นชาวอิตา ...
    • การสังคายนาตำรายาพื้นบ้านอีสาน: กรณีไข้หมากไม้ 

      อุษา กลิ่นหอม (สถาบันสุขภาพวิถีไทย (สสท.)สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.), 2552-08)
      อีสานเป็นสังคมที่มีการสื่อสารกันแบบปากต่อปาก การจดบันทึกในรูปแบบตำรา หนังสื่อหรือสื่ออื่นๆ มีค่อนข้างน้อย ดังนั้นการรวบรวมข้อมูลตำรับตำรายังพอมีการบันทึกไว้เป็นหลักฐานจึงมีความสำคัญอย่างยิ่งยวด เพื่อเป็นแนวทางในการศึกษ ...
    • การสังเคราะห์กลไกในระบบสุขภาพแห่งชาติและบทบาทหน้าที่ โครงสร้างกระทรวงสาธารณสุข 

      อำพล จินดาวัฒนะ; Amphon Jindawatthana; กระทรวงสาธารณสุข. คณะอนุกรรมการศึกษากลไกระบบสุขภาพแห่งชาติและบทบาทโครงสร้างกระทรวงสาธารณสุข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      การศึกษานี้เป็นการทบทวนเอกสาร สัมภาษณ์และรับฟังความคิดเห็นผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เกี่ยวข้อง เพื่อสังเคราะห์ข้อเสนอการปรับบทบาทหน้าที่และโครงสร้างของกระทรวงสาธารณสุข สรุปสาระสำคัญได้ดังนี้ 1. บริบทของโลกและสังคมเปลี่ยนแปลงไปอ ...