• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
เลือกตามชื่อเรื่อง 
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามชื่อเรื่อง
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามชื่อเรื่อง
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เลือกตามชื่อเรื่อง

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 2521-2540 จาก 5898

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • การส่งเสริมการเดินและใช้จักรยานในชีวิตประจำวัน: กรณีศึกษา 4 ชุมชนในประเทศไทย 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; อัจจิมา มีพริ้ง; Atjima Meepring (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      การเดินและการใช้จักรยานเป็นกิจกรรมทางกายรูปแบบหนึ่งที่ประชาชนสามารถทำได้อย่างสม่ำเสมอในชีวิตประจำวัน ซึ่งส่งผลดีต่อสุขภาพ สิ่งแวดล้อมและเศรษฐกิจ การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินกระบวนการดำเนินงานส่งเสริมการเดิน ...
    • การส่งเสริมการเลี้ยงลูกที่มีภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ด้วยนมแม่อย่างเดียวในช่วง 6 เดือนแรกหลังคลอดในทารกที่แม่มารับการฝึกให้นมในหอผู้ป่วยหลังคลอด โรงพยาบาลศรีนครินทร์ 

      พรเพ็ญ ปทุมวิวัฒนา (โรงพยาบาลศรีนครินทร์ จังหวัดขอนแก่น, 2554-07)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย ครั้งที่ 4 เรื่อง ขยายคุณค่างานประจำ: R2R พัฒนาระบบบริการ วันที่ 20 กรกฎาคม 2554 เวลา 13.00-16.30 น. ณ Jupiter4-5 อาคารชาแลนเจอร์ อิมแพ็ค เมืองทองธานี
    • การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555 

      สมาคมเภสัชกรรมชุมชน (ประเทศไทย); มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะเภสัชศาสตร์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557)
      การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตุผลพบได้ทั้งในกลุ่มผู้ใช้ยาและผู้สั่งจ่าย ทั้งในสถานพยาบาลและร้านยา โดยเฉพาะในโรคหวัดที่พบว่า ประชาชนเกินกว่าครึ่งที่ใช้ยาปฏิชีวนะในการรักษา เป็นส่วนหนึ่งของการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่เหมาะสม ...
    • การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในโรงพยาบาลท่าวังผา 

      ปิยพร บุณยวัฒน (โรงพยาบาลท่าวังผา จังหวัดน่าน, 2554-07)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย ครั้งที่ 4 เรื่อง ขยายคุณค่างานประจำ: R2R พัฒนาการบริหารจัดการ วันที่ 20 กรกฎาคม 2554 เวลา 13.00-16.30 น. ณ Jupiter8-9 อาคารชาแลนเจอร์ อิมแพ็ค เมืองทองธานี
    • การส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรในรายการบัญชียาจากสมุนไพร พ.ศ. 2549 

      วีรพงษ์ เกรียงสินยศ; Weerapong Kriangsinyod (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      ความนิยมใช้ยาสมุนไพรและการแพทย์แผนไทยได้รับการตอบรับจากประชาชนเพิ่มขึ้น แม้วงการวิชาการตลอดจนบุคลากรด้านสุขภาพต่างหันมาสนใจศึกษาวิจัยและนำสมุนไพรมาใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นเช่นกัน แต่การส่งเสริมและสนับสนุนยังไม่สามารถจัดการได ...
    • การส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล Antibiotics Smart Use : การศึกษาการขยายผลสู่ความยั่งยืนโดยการสร้างบรรทัดฐานใหม่ทางสังคม (พ.ศ. 2554 – 2556) 

      นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; Nithima Sumpradit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      เชื้อแบคทีเรียดื้อยาจากการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตุผลได้กลายเป็นวิกฤตร่วมของคนทั่วโลก รวมทั้งของประเทศไทย เนื่องจากแบคทีเรียมีการปรับตัวให้ดื้อต่อยาปฏิชีวนะส่งผลให้ยาปฏิชีวนะที่มีใช้ในปัจจุบันไม่มีประสิทธิภาพในการรักษา ...
    • การส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล เขตบริการสุขภาพที่ 10 

      อุษณีย์ กิตติวงศ์สุนทร; Usanee Kittiwongsunthorn (โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์, 2559-08-01)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การพัฒนาสู่โรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล พ.ศ. 2559 วันที่ 1-2 สิงหาคม 2559 ณ ห้องประชุมวายุภักษ์ 6-7 ชั้น 5 โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ กรุงเทพฯ
    • การส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับสิ่งแวดล้อมและนโยบายในประเทศไทย: การทบทวนเชิงวิเคราะห์ 

      ฐิติภรณ์ ตวงรัตนานนท์; Titiporn Tuangratananon; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)
      การมีกิจกรรมทางกายที่เพิ่มขึ้นก่อให้เกิดประโยชน์อย่างมาก โดยไม่เพียงลดการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรและลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลจากโรคไม่ติดต่อ แต่ยังส่งผลต่อการสร้างสังคมที่เข้มแข็ง ลดความเหลื่อมล้ำในสังคมและเพิ่มคุณภาพชีวิต ...
    • การส่งเสริมประชาคมสื่อมวลชนเพื่อสุขภาพ 

      พลเดช ปิ่นประทีป; Poladech Pinprathip; ยุทธดนัย สีดาหล้า (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research) ซึ่งดำเนินการในพื้นที่ 4 จังหวัด ใน 4 ภาคของประเทศ ได้แก่ นครราชสีมา ตรัง พิษณุโลก และสมุทรปราการ ระหว่างเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2543 – ตุลาคม ...
    • การส่งเสริมสุขภาพขององค์กรพัฒนาเอกชน : กรณีศึกษา "ชมรมจักรยานเพื่อสุขภาพแห่งประเทศไทย" 

      ลักขณา เติมศิริกุลชัย; Lukana Termsirikulchai; ประสิทธิ์ ลีระพันธ์; ภรณี วัฒนสมบูรณ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      การส่งเสริมสุขภาพขององค์กรพัฒนาเอกชน:กรณีศึกษา"ชมรมจักรยานเพื่อสุขภาพแห่งประเทศไทย" ชมรมจักรยานเพื่อสุขภาพเป็นองค์กรที่จัดตั้งขึ้นเพื่อให้เกิดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง การศึกษานี้เพื่อทบทวนของกิจกรรมของชมรมตั้ง ...
    • การส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กพิการในศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดน่าน ปี 2553 

      สุรีรัตน์ สูงสว่าง (โรงพยาบาลน่าน, 2555-07-11)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัยครั้งที่ 5 “วิถี R2R: เรียบง่าย คุณภาพ ครบวงจร” วันที่ 10 - 12 กรกฎาคม 2555 ณ ศูนย์การประชุมอิมแพ็คฟอรั่ม เมืองทองธานี
    • การส่งเสริมสุขภาพตามวิถีทางของ VicHealth 

      ไม่มีชื่อผู้แต่ง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2539)
    • การส่งเสริมสุขภาพองค์กรภาคธุรกิจเอกชน : กรณีศึกษาบริษัทยูนิลิเวอร์ ไทย โฮลดิ้ง จำกัด 

      ทวีวรรณ ลีระพันธ์; Thaweewan Leerapan; รวมพร คงกำเนิด; เพ็ญศรี อนันตกุลนธี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      การส่งเสริมสุขภาพองค์กรภาคธุรกิจเอกชน: กรณีศึกษาบริษัทยูนิลีเวอร์ ไทย โฮลดิ้ง จำกัด การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อบรรยายผลงานและกระบวนการดำเนินงานของบริษัทยูนิลีเวอร์ ไทย โฮลดิ้ง จำกัด ซึ่งเป็นสถานประกอบการที่มีผลง ...
    • การส่งเสริมสุขภาพเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวานชนิดไม่พึงอินสุลินในชุมชนเขตเทศบาลเมืองนครพนม 

      อำพล หงษ์งาม; Amphol Hongngam; พีระ อารีรัตน์; รุจิรา ดวงสงค์; สกนธ์วรรณ เติมทานาม; Pheraphol Areerat; Ruchira Duangsong; Sakhonwan Toemtanam (โรงพยาบาลนครพนม, 2543)
    • การส่งเสริมสุขภาพในสถานที่ทำงานเอกชน : โครงการวิจัยเพื่อสร้างพื้นฐานการพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพในที่ทำงานภาคเอกชน: กรณีศึกษาสี่จังหวัดภาคเหนือ 

      เกษม นครเขตต์; Kasem Nakornkat; สามารถ ศรีจำนงค์; อุเทน ปัญโญ; เอนก ช้างน้อย; มนัส ยอดคำ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสืบค้นหาความดีงาม (Appreciation Inquiry -AI) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาการดำเนินการส่งเสริมสุขภาพคนทำงาน ในสถานประกอบการภาคเอกชน ในพื้นที่สี่จังหวัดภาคเหนือคือ เชียงราย เชียงใหม่ ลำพูนและลำปาง ...
    • การส่งเสริมสุขภาพในองค์กรภาครัฐ : กรณีศึกษาศูนย์ส่งเสริมสุขภาพเขต 1 

      เพ็ญประภา ศิวิโรจน์; Penprapa Siviroj; ประสิทธิ์ ลีระพันธ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      Well-organized governmental organization for health promotion: Case Study of the Health Promotion Center Zone 1This study aims to elaborate process and success of the Health Promotion Center Zone 1 is as a case study of ...
    • การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (Strategic Route Map)ในการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในระดับจังหวัด 

      มูลนิธิแสงสิทธิการ (เพื่อคุณภาพชีวิต) (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-12)
      กิจกรรมหลักตามโครงการส่งเสริมฯ ที่ได้ดำเนินการและประสบผลสำเร็จเป็นอย่างดี คือ การเสริมสร้างทักษะบุคลากร ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(Strategic Route Map:SRM) ทั้ง 7 ขั้นตอน มาปรับประยุกต์ใช้เป็นเครื่องมือในการบริหาร ...
    • การส่งเสริมโภชนาการช่วงแรกของชีวิตในระบบงานอนามัยแม่และเด็ก ปีที่ 1 

      พัตธนี วินิจจะกูล; ทิพวัลย์ พงษ์เจริญ; นิภา โรจน์รุ่งวศินกุล; ศิริพร ตันติโพธิ์พิพัฒน์; สืบพงษ์ กอวชิรพันธ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)
      โภชนาการที่เหมาะสมสำหรับมารดาและทารกตั้งแต่มีการปฏิสนธิ จนตลอดสองปีแรก หรือ “1000 วันแรกของชีวิต” มีความสำคัญต่อการเติบโต สุขภาพ และศักยภาพทางสติปัญญา การสำรวจระดับประเทศพบว่าปัญหาทางโภชนาการในแม่และเด็กเปลี่ยนจากภาวะการ ...
    • การสํารวจความคิดเห็น ด้วย Real Time Delphi 

      นเรศ ดํารงชัย; ปวรภัส โพธิสุข; จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.), 2551-10)
      ในการสร้างหลักประกันสุขภาพของประเทศไทยเพื่อให้ประชาชนเข้าถึงการบริการสุขภาพ มีวิวัฒนาการมาโดยลําดับ ซึ่งพบว่ามีทั้งความสําเร็จ ความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรคที่กล่าวถึงในวงกว้างทั้งในแวดวงวิชาการและแวดวงประชาคม หลายประเด็นม ...
    • การหมดระดูของผู้หญิงไทย 

      อรอนงค์ ดิเรกบุษราคม (2539)
      สังคมไทยเคยมองการหมดระดูว่าเป็นธรรมชาติ ผู้หญิงไทยรับรู้การเข้าสู่ภาวะดังกล่าวด้วยความรู้สึกด้านบวก สัมพันธ์กับการให้คุณค่าเรื่องความแก่ ที่วัฒนธรรมไทยให้การเคารพยกย่องผู้สูงอายุซึ่งหมายถึงผู้มีความสุขุม มีศีลธรรม ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [620]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1292]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [234]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV