• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
เลือกตามชื่อเรื่อง 
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามชื่อเรื่อง
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามชื่อเรื่อง
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เลือกตามชื่อเรื่อง

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 2561-2580 จาก 5898

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • การออกแบบสภาพแวดล้อมสถานพยาบาลให้เอื้อต่อการเยียวยา ปีที่ 2 

      โกศล จึงเสถียรทรัพย์; พุทธชาติ แผนสมบุญ; ธนวรรณ สาระรัมย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      โครงการวิจัย “การออกแบบสภาพแวดล้อมสถานพยาบาลให้เอื้อต่อการเยียวยา (Healthcare Healing Environment Design) ปีที่ 2” ได้เน้นให้โรงพยาบาลที่เข้าโครงการฯ จำนวน 17 แห่ง นำเครื่องมือประเมินคุณภาพสิ่งแวดล้อมเพื่อการเยียวยาไปใช ...
    • การออกแบบสภาพแวดล้อมสถานพยาบาลให้เอื้อต่อการเยียวยา ปีที่ 3 

      โกศล จึงเสถียรทรัพย์; Kosol Chungsatiansup; พุทธชาติ แผนสมบุญ; Phutthachat Phaensomboon; ธนวรรณ สาระรัมย์; Thanawan Sararum; นิรัชรา ลิลละฮ์กุล; Niratchara Lillahkul; หทัยกร กิตติมานนท์; Hataikorn Kittimanont (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-12)
      โครงการวิจัยเรื่องการออกแบบสภาพแวดล้อมสถานพยาบาลให้เอื้อต่อการเยียวยา มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อสำรวจสภาพของสิ่งแวดล้อมและศึกษารูปแบบการออกแบบโครงสร้าง/ภูมิสถาปัตยกรรมที่ส่งเสริมคุณภาพและความปลอดภัยของผู้รับบริการ ...
    • การออกแบบหลักสูตรออนไลน์เพื่อส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับการวินิจฉัยโรคติดเชื้อพิธิโอซิสในหลอดเลือด 

      ปัทมา ต.วรพานิช; Pattama Torvorapanit; สุรชัย เล็กสุวรรณกุล; Surachai Leksuwankun; อริยา จินดามพร; Ariya Chindamporn; นวพร วรศิลป์ชัย; Navaporn Worasilchai; รองพงศ์ โพล้งละ; Rongpong Plongla; กษมา มโนธรรมเมธา; Kasama Manothummetha; ณัฐพงศ์ เหล็งศิริ; Nattapong Langsiri; กษิดิศ ป้องขันธ์; Kasidis Phongkhun; นิติพงศ์ เพิ่มพลัง; Nitipong Permpalung (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-01)
      โรคติดเชื้อพิธิโอซิส เกิดจากการติดเชื้อ Pythium Insidiosum ซึ่งเป็นเชื้อก่อโรคในกลุ่มที่คล้ายเชื้อราแต่ไม่ใช่เชื้อรา จัดอยู่ในกลุ่มใกล้เคียงกับไดอะตอม Pythium spp. ถูกค้นพบเป็นการติดเชื้อในพืชมาก่อน ต่อมามีรายงานการติดเชื้อในสัตว์ ...
    • การออกแบบอุปกรณ์เสริมสำหรับเท้าและการผลิตอุปกรณ์ซิลิโคนพิมพ์แบบสามมิติสำหรับรักษาภาวะเท้าแบนและนิ้วหัวแม่เท้าเอียง 

      สิริพร โตนดแก้ว; Siriporn Tanodekaew; สมฤทัย ชรรณษานนท์; Somruethai Channasanon; ภาสกร เทศะวิบุล; Passakorn Tesavibul; ศิรัญญา แพเจริญ; Siranya Paecharoen; กานต์ งามโสภาสิริสกุล; Kan Ngamsopasirisakul; ณญาดา ชูสวัสดิ์; Nayada Choosawad (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-01)
      โครงการนี้เป็นการนำเทคโนโลยีการพิมพ์แบบสามมิติมาผลิตอุปกรณ์ซิลิโคนเสริมสำหรับเท้าแบบเฉพาะราย สำหรับผู้ที่มีโครงสร้างเท้าผิดปกติที่พบได้บ่อยทางคลินิก คือ ภาวะเท้าแบนและภาวะนิ้วหัวแม่เท้าเอียง เพื่อใช้รักษาและบรรเทาอาการเจ็บที่เท้า ...
    • การออกแบบและพัฒนาข้อเข่าเทียมเชิงพาณิชย์เพื่อคนไทย 

      สุขเกษม วัชรมัยสกุล; Sukasem Watcharamiasakul; สุภกิจ รูปขันธ์; Supakit Rooppakhun; รัตน บริสุทธิกุล; Rattana Borrisutthekul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-04)
      เป้าหมายการศึกษาในครั้งนี้ คือ การได้ต้นแบบข้อเข่าเทียมบนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดและรูปทรงที่เหมาะสมกับกายวิภาคข้อเข่าของคนไทย โดยมีโครงการวิจัยย่อย 2 โครงการ ดังนี้ 1) การออกแบบข้อเข่าเทียมจากข้อมูลกายวิภาคของคนไทยด ...
    • การออกแบบและเตรียมชุมชนในการพัฒนาระบบสร้างเสริมสุขภาพด้านจิตสังคมโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ด้วยมาตรการเพื่อนช่วยเพื่อน และละครประยุกต์ เพื่อสร้างการเรียนรู้และเสริมพลัง 

      วัชรา ริ้วไพบูลย์; Wachara Riewpaiboon; ดวงดาว ศรียากูล; Duangdao Sriyakun; นภาพร สันทบ; Napaporn Suntop; ธิดารัตน์ นงค์ทอง; Tidarat Nongthong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-04)
      โครงการนี้เป็นการวิจัยพัฒนาต่อเนื่องของการพัฒนาเชิงระบบที่เพิ่มการเข้าถึงการบำบัดฟื้นฟูเยาวชนในโรงเรียนที่ใช้สารเสพติด ซึ่งการวิจัยพัฒนาในระยะแรกชี้ว่าการใช้แนวทางสร้างเสริมสุขภาพและการฟื้นฟูสมรรถนะด้านจิตสังคมที่ใช้โรงเ ...
    • การอุดหนุนข้ามระหว่างกองทุนสุขภาพในระดับโรงพยาบาล: กรณีศึกษาโรงพยาบาลรัฐในประเทศไทย 

      บวรศม ลีระพันธ์; Borwornsom Leerapan; ภัททา เกิดเรือง; Phatta Kirdruang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-06)
      วัตถุประสงค์: เพื่อค้นหาหลักฐานเชิงประจักษ์ในการตอบสนองของผู้บริหารโรงพยาบาลรัฐของประเทศไทยต่อความแตกต่างของนโยบายการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลของแต่ละกองทุนสุขภาพ และเพื่อทำความเข้าใจปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับแนวคิดการอุดหนุนข้ ...
    • การอุดหนุนและเฉลี่ยความเสี่ยงระหว่างสถานบริการในการเข้าสู่หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ระยะนำร่อง 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2546)
      เนื่องจากต้นทุนการจัดบริการของสถานพยาบาลต่างๆ มีความแตกต่างกันมาก การเข้าสู่การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าให้กับประชาชนไทย ด้วยวิธีงบประมาณแบบใหม่จะมีความสำคัญในการส่งเสริมให้การเปลี่ยนแปลงนี้เป็นไปอย่างราบรื่น ...
    • การอุปถัมภ์รายการศิลปวัฒนธรรมโดยบรรษัทบุหรี่ข้ามชาติ 

      หทัย ชิตานนท์; บัวรัตน์ ศรีนิล; ศิริชัย ศิริกายะ; อำนาจ เย็นสบาย (2540)
      การอุปถัมภ์รายการศิลปวัฒนธรรมของชาติ โดยบรรษัทข้ามชาติในประเทศไทย ภายใต้หน้าฉากของการสร้างภาพลักษณ์ของการแสดงการตอบแทนคืนกำไรให้สังคม แต่หลังฉากเป็นการใช้กลยุทธ์แอบแฝงด้านการตลาดอันแยบยลหรือไม่นั้น ได้รับการติดตามและยับย ...
    • การอ่านสภาพจิตของผู้ต้องขังจากภาพวาด 

      เลิศศิริร์ บวรกิตติ; นพวรรณ บัวทอง; ศิเรมอร บุญงาม; Lertsiri Bovornkitti; Nopphawan Buathong; Siremaon Bunngam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพจิตของผู้ต้องขังในเรือนจำจากภาพวาดอิสระ กลุ่มตัวอย่างประชากรที่ศึกษาได้แก่ ผู้ต้องโทษคุมขัง 30 ราย เป็นชาย 20 ราย และหญิง 10 ราย อายุ 24-57 ปี ซึ่งมีภูมิลำเนากระจายอยู่ทั่วประเทศ ...
    • การเกาะติดการรักษาและผลทางเวชกรรมในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรักษาที่โรงพยาบาลนางรอง 

      สุรภี ปิ่นอำพล; Surapee Pinumphol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      ภูมิหลังและเหตุผล ในการใช้ยารักษาผู้ป่วยโรคเรื้อรัง การเกาะติดการรักษา หรือการเกาะติดยาของผู้ป่วย เป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลการรักษา ผู้ป่วยที่มีเกาะติดการรักษาต่ำ คือใช้ยาไม่สม่ำเสมอ ไม่ครบตามแพทย์สั่ง จะก่อผลร้ายต่อผู้ป่วย ...
    • การเกิดซ้ำของหินน้ำลายและเหงือกอักเสบในนักเรียนประถมศึกษาที่รับการขูดหินน้ำลายโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับตำบล อำเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา 

      จอนสัน พิมพิสาร; Johnson Pimpisarn; ปราณี ปัญญายงค์; มนัสศรา อัจฉริยเมธากุล; ดวงใจ แย้มกระโทก; รณชัย อัจฉริยเมธากุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      การเกิดขึ้นซ้ำของหินน้ำลายและเหงือกอักเสบในเด็กนักเรียนประถมศึกษา การศึกษาวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบการเกิดขึ้นซ้ำของหินน้ำลายและเหงือกอักเสบของเด็กนักเรียนประถมศึกษา อายุ 10-12 ปี ในกลุ่มโรงเรียนที่มีการแป ...
    • การเกิดซ้ำของโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีนในประเทศไทย: กรณีศึกษาของโรคคอตีบ โรคหัด โรคหัดเยอรมัน และโรคไวรัสตับอักเสบชนิดเอ 

      อรุณรักษ์ คูเปอร์ มีใย; โสภณ เอี่ยมศิริถาวร; จักรรัฐ พิทยาวงศ์อานนท์; ปณิธี ธัมมวิจยะ; สมคิด คงอยู่; วิริชดา ปานงาม; ปิยะ หาญวรวงศ์ชัย; วิราวรรณ ชินวิริยสิทธิ์; เศรษฐภัทร ชินวิริยสิทธิ์; ธีระพล สลีวงศ์; วรรณพงษ์ เตรียมโพธิ์; ชรินทร์ โหมดชัง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-03-02)
      การฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันโรคในประเทศไทย เริ่มในปี พ.ศ.2520 ผ่านโครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (Expanded Program on Immunization, EPI) เพื่อลดอุบัติการณ์และอัตราการเสียชีวิตจากโรคทั่วไปที่ สามารถป้องกันได้ ในช่วงแรกความค ...
    • การเกิดเหตุการณ์ Pandemic ของโรคติดต่อที่มีความสำคัญอย่างต่อเนื่องและซ้ำซากจนเป็นภาระแก่ระบบ 

      นรินทร์ หิรัญสุทธิกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05)
    • การเขียนการดำเนินการกับข้อมูล และการวิเคราะห์ทางสถิติในโครงร่างวิจัย 

      อรุณ จิรวัฒน์กุล; Aroon Chirawatkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-10-02)
      เอกสารนำเสนอประกอบการฝึกอบรม โครงการจัดฝึกอบรมเรื่อง “การเขียนโครงร่างการวิจัยทางคลินิก ” วันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2557 ณ ห้องแมจิก 1 ชั้น G โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร
    • การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยให้ได้ทุน 

      สุชาต อุดมโสภกิจ; Suchat Udomsopakit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ, 2560-02)
      เอกสารนำเสนอประกอบการอบรมโครงการพัฒนาผู้จัดการงานวิจัย รุ่นที่ 3 (Research Manager : RM)ระหว่างวันที่ 22-24 กุมภาพันธ์ 2560 ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี
    • การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยให้ได้ทุน 

      สุชาต อุดมโสภกิจ; Suchat Udomsopakit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-29)
      เอกสารนำเสนอประกอบการอบรมหลักสูตรผู้จัดการงานวิจัย รุ่นที่ 4 ระหว่างวันที่ 28-30 มิถุนายน 2560 ณ ห้องประชุมแคทลียา 1 โรงแรมรามาการ์เด้นส์
    • การเขียนทับศัพท์ 

      เลิศศิริร์ บวรกิตติ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      วิธีการเขียนทับศัพท์ภาษาอังกฤษเป็นคำไทย ยังคงหลากหลายรูปแบบ แตกต่างกันในต่างสถาบันหรือแม้ในสถาบันเดียวกัน และแตกต่างกันในกลุ่มนักวิชาการโดยแนวคิดและอุดมการณ์ โดยที่ราชบัณฑิตยสถานเป็นหน่วยงานทางการที่กำหนดการใช้ภาษาของชาติ ...
    • การเขียนสรุปรายงานการวิจัย และรูปแบบมาตรฐานการเขียนรายงานการวิจัย 

      บัญชร แก้วส่อง; Bunchorn Kaewsong (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2557-09-17)
      เอกสารนำเสนอประกอบการอบรมหลักสูตรผู้จัดการงานวิจัย รุ่นที่ 1 วันที่ 16 - 18 กันยายน 2557 และ รุ่นที่ 2 วันที่ 29 - 31 ตุลาคม 2557 ณ โรงแรมมารวย กาเด้น
    • การเข้าถึง เข้าใจ ประเมิน และใช้ข้อมูลข่าวสารสุขภาพเพื่อการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากโรคติดต่ออุบัติใหม่ที่แพร่มาจากต่างประเทศของประชาชนในเขตเมือง 

      พนม คลี่ฉายา; Phnom Kleechaya (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจการเข้าถึงความเข้าใจ การประเมินคุณค่าและความถูกต้องของข้อมูลข่าวสารสุขภาพเกี่ยวกับโรคติดต่ออุบัติใหม่ที่แพร่มาจากต่างประเทศของประชาชนในเขตเมือง และการนำข้อมูลข่าวสารมาใช้ในการป้องกันและ ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [620]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1292]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [234]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV