• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
เลือกตามชื่อเรื่อง 
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามชื่อเรื่อง
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามชื่อเรื่อง
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เลือกตามชื่อเรื่อง

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 2601-2620 จาก 5899

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • การเปรียบเทียบความต่อเนื่องสม่ำเสมอของการรับประทานยาต้านไวรัสเอดส์ ระหว่างโรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป ภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      สุคนธา คงศีล; สุขุม เจียมตน; กนกศักดิ์ วงศ์เป็ง; กิติยา พรมอ่อน; สิทธิกร รองสำลี; นุชวรรณ์ บุญเรือง; ศรันยา บุญใหญ่; กุลญิศา เตชะเพชรไพบูลย์; เบญจพร ยังวิเศษ; สิริพร มนยฤทธิ์; Sukhontha Kongsin; Sukhum Jiamton; Kanoksak Wongpeng; Kitiya Prom-On; Sittikorn Rongsumlee; Nootchawan Boonruang; Saranya Boonyai; Kulyisa Tachapetpaiboon; Benjaporn Youngviset; Siriporn Monyarit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-12)
      ความต่อเนื่องสม่ำเสมอ (Adherence) ของการรับประทานยาต้านไวรัสเอดส์ มากกว่า 95% จึงจะมีประสิทธิภาพของยาเพียงพอในการกดจำนวนเชื้อไวรัส ไม่เกิดโรคติดเชื้อฉวยโอกาส ลดโอกาสของการแพร่เชื้อดื้อยาไปสู่ผู้อื่น และทำให้ผู้ป่วยมีสุขภ ...
    • การเปรียบเทียบความเคลื่อนไหวการปฏิรูประบบสุขภาพของนานาประเทศ : กรณีศึกษาประเทศอินเดีย 

      นิลรัตน์ เปรมมณีสกุล; Nillarat Premmaneesakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      การปฏิรูประบบสุขภาพของนานาประเทศ: กรณีศึกษาประเทศอินเดีย อินเดียเป็นหนึ่งในประเทศกำลังพัฒนาที่ไม่ได้ทำการปฏิรูประบบสุขภาพ อย่างไรก็ตามอินเดียก็มีการดำเนินการพัฒนาระบบสุขภาพมาโดยตลอดนับแต่เมื่อได้รับเอกราชในปี ค.ศ. 1947 ...
    • การเปรียบเทียบคุณภาพการบริหารจัดการโรคเบาหวานระหว่างโรงพยาบาลชุมชนต่างๆ ใน จ.อุบลราชธานี 

      อาภรณ์ จตุรภัทรวงศ์; ปาริชาต บุตรดีมี; ศิริรัตน์ บุญจรัส; นุชจรินทร์ อภินันท์; ธีราพร ชนะกิจ; Aporn Jaturapattarawong; Parichart Butdeemee; Sirirat Boonjarat; Nuchjarin Apinun; Watcharodom Supaluk; Teeraporn Chanakit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-09)
      แต่เดิมการประเมินผลการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานของโรงพยาบาลชุมชนใน จ.อุบลราชธานีไม่เป็นไปในแนวทางเดียวกัน ทีมวิจัยจึงเห็นว่า ควรมีการวิเคราะห์ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้ทราบสถานการณ์และหาทางพัฒนาต่อไป ดังนั้น ...
    • การเปรียบเทียบบริการสุขภาพสำหรับดูแลผู้ป่วยอาการเจ็บป่วยเล็กน้อยที่ร้านยากับแผนกผู้ป่วยนอกที่โรงพยาบาล : การศึกษาเชิงคุณภาพ 

      ตวงรัตน์ โพธะ; Tuangrat Phodha; ศรวณีย์ อวนศรี; Sonvanee Uansri; กุสาวดี เมลืองนนท์; Kusawadee Maluangnon; ปรุฬห์ รุจนธำรงค์; Parun Rutjanathamrong; กิตติยา จันทรธานีวัฒน์; Kittiya Jantarathaneewat; ศิริรัตน์ จตุรพูลลาภ; Sirirat Jaturapullarp; พีรพัฒน์ ทรัพย์พฤทธิกุล; Pheeraphat Sarppreuttikun; ฐิติณัชช์ เด็ดแก้ว; Thitinat Dedkaew; ธนะวัฒน์ วงศ์ผัน; Thanawat Wongphan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-05)
      ที่มา การเปรียบเทียบบริการสุขภาพสำหรับผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บป่วยเล็กน้อยระหว่างร้านยาและแผนกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลมีความสำคัญต่อการทำความเข้าใจพฤติกรรมและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการสุขภาพของประชาชน ...
      ป้ายกำกับ:
      รายการแนะนำ
    • การเปรียบเทียบผลของการจ่ายและการไม่จ่ายยาปฏิชีวนะของร้านยาในโรคที่พบบ่อยต่อสุขภาพและความพึงพอใจของผู้ป่วย 

      วิรัตน์ ทองรอด; Wirat Tongrod; กฤติน บัณฑิตานุกูล; Krittin Bunditanukul; กิติยศ ยศสมบัติ; Kitiyot Yotsombut; วราวุธ เสริมสินสิริ; Varavoot Sermsinsiri; ณีรนุช ทรัพย์ทวี; Niranut Subthawee; สมบัติ แก้วจินดา; Sombat Kaeochinda; นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; Nithima Sumpradit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      ร้านยาเป็นแหล่งให้บริการด้านสุขภาพระดับปฐมภูมิที่สำคัญ แต่ร้านยาหลายแห่งยังจ่ายยาปฏิชีวนะในโรคที่พบบ่อยซึ่งส่วนใหญ่ไม่จำเป็นต้องใช้ เช่น โรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน โรคท้องร่วงเฉียบพลัน และแผลเลือดออก สาเหตุสำคัญ คือ ...
    • การเปรียบเทียบผลของการนวดเต้านมเพียงอย่างเดียวกับการนวดเต้านมร่วมกับประคบเต้านมด้วยผ้าชุบน้ำอุ่นในการกระตุ้นการหลั่งน้ำนมของมารดาหลังคลอดบุตร 

      ประมินทร์ อนุกูลประเสริฐ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-07)
    • การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ของการบริบาลทางเภสัชกรรมผู้ป่วยเรื้อรังที่รับยาต่อเนื่องระหว่างร้านยาคุณภาพ และศูนย์แพทย์ชุมชน จังหวัดมหาสารคาม 

      พยอม สุขเอนกนันท์; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; บุษบา โทวรรณา; รัตนา เสนาหนอก; พีรยา สมสะอาด; อุกฤษฎ์ สนหอม; อภิสรา คำวัฒน์; Phayom Sookaneknun; Thananan Rattanachotpanit; Bussaba Thowanna; Rattana Senanok; Peeraya Somsaard; Ukrit Sonhorm; Apisara Kamwat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      บทบาทร้านยาที่ดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังอย่างเป็นระบบเชื่อมต่อกับหน่วยบริการของรัฐยังเป็นเรื่องใหม่สำหรับประเทศไทย วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้คือ เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ของการบริบาลเภสัชกรรมผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิต ...
    • การเปรียบเทียบสัดส่วนการจัดสรรงบประมาณกองทุนประกันสุขภาพแห่งชาติระหว่างคู่สัญญาบริการสาธารณสุขระดับปฐมภูมิให้กับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลที่ถ่ายโอนและไม่ถ่ายโอนไปองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบาย 

      นภชา สิงห์วีรธรรม; Noppcha Singweratham; ตวงรัตน์ โพธะ; Tuangrat Phodha; วิน เตชะเคหะกิจ; Win Techakehakij; ธีระศักดิ์ วงศ์ใหญ่; Dherasak Wongyai; อำพล บุญเพียร; Aumpol Bunpean; พัลลภ เซียวชัยสกุล; Pallop Siewchaisakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      การถ่ายโอนภารกิจด้านการให้บริการปฐมภูมิที่อยู่กับสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี (สอน.) และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทำให้เกิดความเป็นธรรม ความเสมอภาคและเท่าเทียม ...
    • การเปรียบเทียบอาการปวดกล้ามเนื้อขณะใช้งานสมาร์ทโฟนระหว่าง 3 กลุ่มอายุ: เด็กนักเรียนประถม นักเรียนมัธยม และผู้ทำงานสำนักงาน 

      ภัทริยา อินทร์โท่โล่; Pattariya Intolo (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      ปัจจุบัน มีการใช้สมาร์ทโฟนกันอย่างกว้างขวางทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ จากการศึกษาที่ผ่านมาพบว่า ขณะใช้งานสมาร์ทโฟนนั้น ทำให้เกิดอาการปวด ซึ่งเป็นการศึกษาในกลุ่มนิสิตหรือนักศึกษาในมหาวิทยาลัยเท่านั้น ยังไม่มีการศึกษาในช่วงอายุอื่นๆ ...
    • การเปรียบเทียบเวลาการหลั่งน้ำนมในกลุ่มมารดาหลังคลอดที่มีการใช้ลูกประคบสมุนไพรกับการประคบน้ำอุ่นในโปรแกรมการกระตุ้นการหลั่งน้ำนม 

      เปล่งฉวี สกนธรัตน์ (โรงพยาบาลสกลนคร, 2555-07-10)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัยครั้งที่ 5 “วิถี R2R: เรียบง่าย คุณภาพ ครบวงจร” วันที่ 10 - 12 กรกฎาคม 2555 ณ ศูนย์การประชุมอิมแพ็คฟอรั่ม เมืองทองธานี
    • การเปลี่ยนแปลงกระทรวงสาธารณสุข 

      คณิศ แสงสุพรรณ (มูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง, 2556-03-02)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมระดมความคิดเห็นผู้บริหารระดับสูงต่อการบริหารการเปลี่ยนแปลงกระทรวงสาธารณสุข ครั้งที่ 2 วันที่ 2 มีนาคม 2556 ณ ห้องประชุมพิมานแมน ชั้น 2 โรงแรมโฟร์ซีซั่น ถ.ราชดำริ กรุงเทพฯ
    • การเปลี่ยนแปลงของระบบอภิบาลและการบริหารหลักประกันสุขภาพภาครัฐโดยให้ภาคเอกชนเข้ามาดำเนินการ 

      นิพิฐ พิรเวช (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05)
    • การเปลี่ยนแปลงของอัตราการใส่หน้ากากอนามัยเมื่ออยู่นอกบ้านในช่วงโควิด-19: การวิเคราะห์จากภาพกล้องวงจรปิดโดยปัญญาประดิษฐ์ 

      ทยา กิติยากร; Taya Kitiyakara; สุภารี บุญมานันท์; Suparee Boonmanunt; รัตน์ชัยนันท์ ธรรมสุจริต; Ratchainant Thammasudjarit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      ภูมิหลัง: โควิด-19 ได้คร่าชีวิตมนุษย์จำนวนมากและได้สร้างความเสียหายทางเศรษฐกิจไปทั่วโลก การใส่หน้ากากเป็นวิธีป้องกันการแพร่ระบาดที่ได้รับการยอมรับทางการแพทย์ แต่อัตราการใส่หน้ากากในแต่ละประเทศกลับไม่เหมือนกัน เนื่องด้วยวัฒนธรรม ...
    • การเปลี่ยนแปลงคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุไทยในช่วงการระบาดของโควิด-19 

      สุภาพ อารีเอื้อ; Suparb Aree-Ue; ยุวดี สารบูรณ์; Yuwadee Saraboon; อินทิรา รูปสว่าง; Inthira Roopsawang; ทีปทัศน์ ชินตาปัญญากุล; Teepatad Chintapanyakun; ศิริรัตน์ อินทรเกษม; Sirirat Intharakasem (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      สถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 ในปัจจุบันที่ประชากรทั่วโลกต้องเผชิญ การประกาศมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิตในวิถีชีวิตใหม่ อาจส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุได้ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามกา ...
    • การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม และการค้นหาตัวบ่งชี้ทางชีวภาพเชิงเมตาบอลอมิคส์ของโรคมะเร็งปอดในคนไทย 

      ธัญนันท์ เรืองเวทย์วัฒนา; Thanyanan Reungwetwattana (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      เนื่องจากปัจจุบันการรักษาโรคมะเร็งปอดนั้นได้มีวิวัฒนาการหลายๆ วิธี ไม่ว่าจะเป็นการให้ยาเคมีบำบัดแบบดั้งเดิม หรือการรักษาแบบมุ่งเป้า ซึ่งเป็นวิธีการรักษาแบบใหม่และได้ผลดีมาก โดยเพิ่มอัตราการรอดชีวิต รวมถึงเพิ่มอัตราตอบสนอ ...
    • การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม และการค้นหาตัวบ่งชี้ทางชีวภาพเชิงเมตาบอลอมิคส์ของโรคมะเร็งปอดในคนไทย (ปีที่ 2) 

      ธัญนันท์ เรืองเวทย์วัฒนา; Thanyanan Reungwetwattana (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09-19)
      เนื่องจากปัจจุบันการรักษาโรคมะเร็งปอดนั้นได้มีวิวัฒนาการหลายๆ วิธี ไม่ว่าจะเป็นการให้ยาเคมีบำบัดแบบดั้งเดิม หรือการรักษาแบบมุ่งเป้า ซึ่งเป็นวิธีการรักษาแบบใหม่และได้ผลดีมาก โดยเพิ่มอัตราการรอดชีวิต รวมถึงเพิ่มอัตราตอบสนอ ...
    • การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม และการค้นหาตัวบ่งชี้ทางชีวภาพเชิงเมตาบอลอมิคส์ของโรคมะเร็งปอดในคนไทย (ปีที่ 3) 

      ธัญนันท์ เรืองเวทย์วัฒนา; Thanyanan Reungwetwattana (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-03)
      เนื่องจากปัจจุบันการรักษาโรคมะเร็งปอดนั้นได้มีวิวัฒนาการหลายๆ วิธี ไม่ว่าจะเป็นการให้ยาเคมีบำบัดแบบดั้งเดิม หรือการรักษาแบบมุ่งเป้า ซึ่งเป็นวิธีการรักษาแบบใหม่และได้ผลดีมาก โดยเพิ่มอัตราการรอดชีวิต รวมถึงเพิ่มอัตราตอบสนอ ...
    • การเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่มีผลต่อภาวะสุขภาพ: กรณีศึกษาแรงงานย้ายถิ่น 

      ดุษฎี อายุวัฒน์; Dusadee Ayuwat; ภัทระ แสนไชยสุริยา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      รายงานวิจัยเรื่อง การเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่มีผลต่อสุขภาวะสุขภาพกรณีศึกษาแรงงานย้ายถิ่น จึงทบทวนองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องในประเด็นขอบเขตนิยามการย้ายถิ่น แบบแผนการย้ายถิ่นของแรงงานอีสานและศึกษาประเด็นแรงย้ายถิ่นอีสานกับความยากจน ...
    • การเปลี่ยนแปลงบทบาทของภาครัฐและภาคเอกชนในระบบสาธารณสุข 

      ดำรงค์ บุญยืน; Damrong Boonyoen (2537)
      ปัจจุบันกระแสความเปลี่ยนแปลงในยุคโลกานุวัตรเชี่ยวกรากมาก ระบบสาธารณสุขทั่วโลกก็ถูกกระทบรุนแรงตามไปด้วย ผู้เขียนได้นำเสนอปัญหาและประเด็นสำคัญเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของระบบสาธารณสุขในเชิงแนวคิด และกลวิธีสำคัญบางประการ ...
    • การเปลี่ยนแปลงปัจจัยทางด้านการจัดการกับการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ในโครงการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : กรณีศึกษา จังหวัดในเขต 6 

      เกรียงศักดิ์ เอกพงษ์; Kriengsak Ekapong; ปรีดา โนวฤทธิ์; วรางคณา อินทโลหิต; พิทยา ศรีกุลวงศ์; วรรณวดี ศิริจันทร์; วิไลวรรณ เทียมประชา; Preda Nowrith; Warangkana Inthalohith; Pithapya Srikulwong; Wanwadee Sirrijan; Wilanwan Taimpracha (Health Systems Research Institute, 2546)
      การวิจัยแบบภาคตัดขวางครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการเปลี่ยนแปลงปัจจัยทางด้านการจัดการ ได้แก่ การจัดการงบประมาณ บุคลากร วัสดุอุปกรณ์ ครุภัณฑ์ เวชภัณฑ์ และด้านการมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการให้บริการสร้างเสริมสุขภาพ ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [621]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1292]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [234]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV