Now showing items 2692-2711 of 5817

    • กำลังคนของระบบสุขภาพชุมชน 

      เกษม เวชสุทธานนท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-02-19)
    • กำลังคนด้านสุขภาพของประเทศไทยในปัจจุบันและอนาคต: บทเรียนจากการระบาด COVID-19 

      ฑิณกร โนรี; Thinakorn Noree (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07-07)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการ 30 ปี สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ก้าวสู่ทศวรรษที่ 4 : ร่วมกันวิจัย ยกระดับคุณภาพชีวิต (To the Next Decade : Enhance Research for Life) วันที่ 7-8 กรกฎาคม 2565 ณ โรงแรมอัศวิน แกรนด์ ...
    • กำเนิดเส้นใยหินในปอด 

      สมชัย บวรกิตติ; สายชล เกตุษา; Somchai Bovornkitti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-12)
    • กิจกรรมทางกาย การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และค่าใช้จ่ายในการเดินทาง: กรณีศึกษาของ 3 ชุมชนในประเทศไทย 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; อรณา จันทรศิริ; Orana Chandrasiri; ฐิติพร สุแก้ว; Thitiporn Sukaew; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthrasri; สรศักดิ์ เจริญสิทธิ์; Sorasak Charoensit; อัจจิมา มีพริ้ง; Atjima Meepring; รัชพร คงประเสริฐ; Ratchaporn Kongprasert; พุฒิปัญญา เรืองสม; Putthipanya Ruengsom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      การเดินและการใช้จักรยานเป็นกิจกรรมทางกายรูปแบบหนึ่งที่ประชาชนสามารถทำได้อย่างสม่ำเสมอในชีวิตประจำวัน ซึ่งส่งผลดีต่อสุขภาพ สิ่งแวดล้อมและเศรษฐกิจ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการจัดการสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเด ...
    • กิจกรรมทางกายในเด็กและเยาวชนไทย อายุ 0-22 ปี: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ 

      ทรงทรรศน์ จินาพงศ์; Songdhasn Chinapong; ระวีวรรณ มาพงษ์; Raweewan Maphong; ธนัญพร พรมจันทร์; Thnunpron Promjun; อารีกุล อมรศรีวัฒนกุล; Areekul Amornsriwatanakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)
      ภูมิหลังและเหตุผล: การมีกิจกรรมทางกายในระดับที่เพียงพอตามคำแนะนำขององค์การอนามัยโลกจำเป็นต่อการพัฒนาทักษะการเคลื่อนไหวและสมรรถภาพทางกายในเด็กและเยาวชน และมีส่วนช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเมื่ ...
    • กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพในโรงพยาบาล: ผลการทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ 

      ภรณี เหล่าอิทธิ; Poranee Laoitthi; ปิยะ หาญวรวงศ์ชัย; Piya Hanvoravongchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-12)
      การสร้างเสริมสุขภาพในโรงพยาบาลเป็นแนวนโยบายที่มีโอกาสในการช่วยเสริมความเข้มแข็งของมาตรการการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ โดยเฉพาะในส่วนของการปรับให้โรงพยาบาลเอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพ เพราะการให้บริการของสถานพยาบาลต่างๆ ...
    • กิจกรรมส่งเสริมความตระหนักรู้โรคมะเร็งปากมดลูกผ่านสื่อโดยผู้จำหน่ายวัคซีนป้องกันการติดเชื้อเอชพีวี 

      ภาสกรณ์ โพธิ์ศรี; Passakorn Phosi; มณีรัตน์ รัตนามหัทธนะ; Maneerat Rattanamahattana (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบกิจกรรมส่งเสริมความตระหนักรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกที่บริษัทผู้ผลิต/ผู้จำหน่ายวัคซีนป้องกันการติดเชื้อเอชพีวีนำเสนอผ่านสื่อโทรทัศน์ สื่อนิตยสาร และสื่ออินเตอร์เน็ต ...
    • กินดี ยูดี 

      กษมา แย้มตรี; ยศวดี สนธิไชย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-04-01)
      Universal Design เป็นแนวคิดเรื่องการออกแบบสิ่งแวดล้อม การสร้างสถานที่ ข้าวของต่างๆ รวมถึงการพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ เพื่อให้ทุกคนที่อยู่ในสังคมเดียวกันสามารถใช้ประโยชน์จากสิ่งเหล่านั้นได้อย่างเต็มที่และเท่าเทียมกัน โดยไม่มีกล ...
    • กินน้อยลง อดอาหาร ออกกำลังกาย ลดน้ำหนักจริงหรือ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-02)
      Infographic ข้อมูลจากโครงการวิจัย ผลของการออกกำลังและการบริโภคอาหารต่อการเกิดโรคสมองเสื่อม โรคไตเรื้อรัง โรคเบาหวาน และโรคหัวใจและหลอดเลือดในประชากรไทยในจังหวัดอุบลราชธานี โครงการต่อเนื่อง ปีที่ 2 (https://kb.hsri.or.th/ ...
    • กุญแจดอกใหญ่ไขสุขภาพ : พลังงาน สุขภาพ และพลังประชาชน 

      เดชรัต สุขกำเนิด; เพ็ญโฉม แซ่ตั้ง; วลัยพร มุขสุวรรณ; ศุภกิจ นันทะวรการ; สดใส สร่างโศรก (2545-08)
    • กุญแจสำเร็จสู่การเป็นกรรมการที่เป็นผู้แทนประชาชน (Key Highlights for Lay person) 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat; จันทรา เหล่าถาวร; Jantra Laothavorn; ขวัญชนก ยิ้มแต้; Kwanchanok Yimtae; พรรณทิพา ว่องไว; Phanthipha Wongwai; สุพัตรา ปรศุพัฒนา; Supatra Porasuphatana; ประทุม สร้อยวงค์; Pratum Soivong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566)
      หนังสือ กุญแจสำเร็จสู่การเป็นกรรมการที่เป็นผู้แทนประชาชน เล่มนี้ จัดทำขึ้นในโครงการพัฒนาศักยภาพของกรรมการจริยธรรมที่เป็นผู้แทนภาคประชาชน ครั้งที่ 1 โดยการสนับสนุนจากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) มีวัตถุประสงค์ ...
    • กุญแจสำเร็จสู่การเป็นกรรมการที่เป็นผู้แทนประชาชน (Key Highlights for Layperson) 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat; จันทรา เหล่าถาวร; Jantra Laothavorn; ขวัญชนก ยิ้มแต้; Kwanchanok Yimtae; พรรณทิพา ว่องไว; Phanthipha Wongwai; สุพัตรา ปรศุพัฒนา; Supatra Porasuphatana; ประทุม สร้อยวงค์; Pratum Soivong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566)
      หนังสือ กุญแจสำเร็จสู่การเป็นกรรมการที่เป็นผู้แทนประชาชน เล่มนี้ จัดทำขึ้นในโครงการพัฒนาศักยภาพของกรรมการจริยธรรมที่เป็นผู้แทนภาคประชาชน ครั้งที่ 1 โดยการสนับสนุนจากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) มีวัตถุประสงค์ ...
    • ก่อนจะมาเป็นการวิจัยที่ถูกทำนองคลองธรรม 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-05)
      เป้าหมายของการวิจัย คือ การสร้างความรู้ใหม่ หลักการของการวิจัย คือ จะต้องดำเนินการตามกฎเกณฑ์และวิธีการที่ถูกต้องตามหลักวิชาการทุกขั้นตอนตั้งแต่ต้นจนจบ ผลผลิตที่สำคัญของการวิจัย คือ ข้อมูล (Data) ที่เชื่อถือได้ คำว่า ...
    • ก่อนจะไม่มีตัวตน: การเลือกรูปแบบการตายในระยะสุดท้ายของชีวิต 

      อัจฉรา บุญสุข (สถานีอนามัยบ้านสะลวงนอก, 2552-07-16)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย R2R : เพิ่มคุณค่า พัฒนาคน พัฒนาบริการ ครั้งที่ 2 ในหัวข้อ ห้องย่อยที่ 1 : R2R in Primary care แนะนำ 10 ผลงาน R2R ดีเด่น ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับนักวิจัย ...
    • ก้าวต่อไป การวิจัยระบบสุขภาพ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-10)
      ในรอบทศวรรษที่ผ่านมา ระบบสุขภาพไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างก้าวกระโดด พรบ.กระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 ได้ผลักดันให้มีการพัฒนารูปแบบการถ่ายโอนสถานพยาบาลภาครัฐไปอยู่ภายใต้การดูแลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ...
    • ก้าวต่อไปของการศึกษาด้านสาธารณสุขไทย 

      Prawes Wasi; ประเวศ วะสี (2537)
      บทความนี้เรียบเรียงจากคำบรรยายในการประชุมสัมมนาประเมินผลโครงการประสานความร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษากับระบบบริการสาธารณสุข เพื่อการพัฒนากำลังคน และระบบบริการสาธารณสุข จังหวัดขอนแก่น เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2536
    • ก้าวที่ผ่านไปบนเส้นทางการกระจายอำนาจด้านสุขภาพ : ทบทวนการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุขให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นระหว่างปี 2542-2550 

      ปรีดา แต้อารักษ์; นิภาพรรณ สุขศิริ; รำไพ แก้ววิเชียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-12)
      ในยุคที่กระแสการปฏิรูประบบสุขภาพยังมาแรง หลายคนมองว่าการกระจายอำนาจด้านสุขภาพจะเป็นนโยบายหนึ่งที่จะส่งผลต่อการปฏิรูประบบสุขภาพมากที่สุด และด้วยปัจจัยสนับสนุนจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 หลายคนก็คาดเดาว ...
    • ก้าวย่างสู่ความยั่งยืน พบผู้บริหารของหน่วยงานในเครือข่าย 

      ป่วน สุทธิพินิจธรรม (วิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 2555-07-10)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัยครั้งที่ 5 “วิถี R2R: เรียบง่าย คุณภาพ ครบวงจร” วันที่ 10 - 12 กรกฎาคม 2555 ณ ศูนย์การประชุมอิมแพ็คฟอรั่ม เมืองทองธานี