Now showing items 2732-2751 of 5652

    • คนไทยใช้พลังงานในกิจกรรมทางกายและพฤติกรรมเนือยนิ่งเท่าไร: ข้อมูลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; นุชราภรณ์ เลี้ยงรื่นรมย์; Nucharapon Liangruenrom; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; วิชชุกร สุริยะวงศ์ไพศาล; Wichukorn Suriyawongpaisan; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพลังงานที่ใช้ในกิจกรรมทางกายระดับปานกลางและหนักและพฤติกรรมเนือยนิ่งของประชากรไทยทั้งประเทศ โดยจำแนกพลังงานที่ใช้ตามกลุ่มกิจกรรม ได้แก่ การทำงาน การเดินทาง นันทนาการ และพฤติกรรมเนือยนิ่ง ...
    • ครอบครัวกับการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 

      นฤมล บุญเลิศ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-07)
    • ครอบครัวโยคะ 

      สุริยัน สุดศรีวงศ์ (แผนงานวิจัยและพัฒนาระบบสื่อสารสุขภาพสู่ประชาชน สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550-03)
      ครอบครัวโยคะ คือวรรณกรรมสุขภาพที่เหมาะสมกับทุกเพศทุกวัยในครอบครัว ผู้เขียนชักชวนให้คนอ่านได้สนใจกับการดูแลสุขภาพ โดยเริ่มจากสิ่งที่เราชอบ และจากคนที่อยู่ใกล้ตัว หนังสือเล่มนี้อาจจะทำให้หลายคนมีความรู้สึกสดชื่น กระชุ่มกระชวย ...
    • ครึ่งทศวรรษการถอดประสบการณ์การเรียนรู้โครงสร้างโรงพยาบาลตำบล (PCU) อ.หล่มสัก 

      ขจรศักดิ์ พรหมสา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-02-19)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมมหกรรมสุขภาพชุมชน 2552 ในหัวข้อสถาปัตยกรรมเพื่องานสุขภาพชุมชน : วิธีคิดและการออกแบบ วันพฤหัสบดีที่ 19 กุมภาพันธ์ 2552 เวลา 09.00-12.00 น.ณ ห้องย่อยที่ 4 อาคารอิมแพ็ค คอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ เมืองทองธานี
    • คลังเลือด 

      สมพล พงศ์ไทย; สมชัย บวรกิตติ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      blood bank มักถูกบัญญัติเป็นคำไทยว่า ธนาคารเลือด แต่มีผู้บัญญัติว่า คลังเลือด เป็นศัพท์บัญญัติที่ถูกต้องกว่า โดยให้เหตุผลว่า ธนาคาร น. (ธน+อคาร) (ธน, ธน- น. ทรัพย์สิน) ซึ่งหมายถึงนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมาย ฯลฯ ...
    • คลินิกพัฒนาการเด็กต้นแบบ และการศึกษาผลการส่งเสริมเด็กพัฒนาการล่าช้า เด็กออทิสติกด้วยโปรแกรมไทย 

      แก้วตา นพมณีจำรัสเลิศ; Kaewta Nopmaneejumruslers; เพลิน ประทุมมาศ; Plern Pratoommas; กันนิกา เพิ่มพูนพัฒนา; Kannika Permpoonputtana; ประพา หมายสุข; Prapa Maisook; ฒามรา สุมาลย์โรจน์; Tamara Sumalrot; กุณฑลีพร อมรชัยยาพิทักษ์; Koonthaleeporn Amornchaiyapitak; ธนยศ สุมาลย์โรจน์; Thanayot Sumalrot; ตติมา กล่อมจันทร์; Tatima Klomchan; กันย์ญาดา เอี่ยมสุนทร; Kanyada Iamsoontorn; จิตตินันท์ ชิ้นปิ่นเกลียว; Jittinan Chinpinkyo (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      ออทิสติกมีสาเหตุจากพันธุกรรมที่ส่งผลให้เกิดความบกพร่องของสมองและระบบประสาท การแก้ไขความบกพร่องต้องอาศัยหลักการทางสมองและระบบประสาท Neuroplasticity หรือ ความสามารถในการปรับเปลี่ยนของสมอง มีองค์ประกอบที่เป็นหลักสำคัญ คือ ...
    • คลินิคโรคหืดแบบง่าย Easy Asthma Clinic 

      วัชรา บุญสวัสดิ์ (มหาวิทยาลัยขอนแก่น. คณะแพทยศาสตร์, 2555-03)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในทศวรรษที่สอง วันที่ 21-22 มีนาคม 2555 ณ ห้องคอนเวนชั่น (ชั้น 4) อาคารคอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ โรงแรมรามาการ์เด้นส์ ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพมหานคร
    • คลื่นลูกที่ 3 ของการปฏิรูประบบบริการสุขภาพในประเทศไทย 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การปฏิรูประบบบริการสุขภาพของประเทศไทยได้ก้าวสู่ระยะที่สาม หลังจากประสบความสำเร็จในการขยายความครอบคลุมสถานพยาบาลไปทั่วประเทศในระยะที่หนึ่ง และการปฏิรูประบบการเงินการคลังจนมีระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในระยะที่สอง ...
    • ความกันดารของพื้นที่ : หลักเกณฑ์การพิจารณา 

      ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย; ณิชากร ศิริกนกวิไล; พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์; พินิจ ฟ้าอำนวยผล; Kwanpracha Chiangchaisakulthai; Nichakorn Sirikanokvilai; Pongpisut Jongudomsuk; Somsak Chunharas; Pinij Fahamnuaypol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-09)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาหลักเกณฑ์และแนวทางการกำหนดความกันดารของพื้นที่ระดับอำเภอ เพื่อใช้อ้างอิงประกอบการจ่ายค่าตอบแทน “เบี้ยเลี้ยงเหมาจ่าย” แก่บุคลากรสาธารณสุข ทั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายงานข้อเสนอการปรับ ...
    • ความก้าวหน้าการดำเนินการร่วมกัน เครือข่ายโรงพยาบาลกลุ่มสถาบันแพทย์ศาสตร์ (UHosNet) 

      สุรศักดิ์ ลีลาอุดมลิปิ; Surasak Leelaudomlipi (เครือข่ายกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย, 2559-08-01)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การพัฒนาสู่โรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล พ.ศ. 2559 วันที่ 1-2 สิงหาคม 2559 ณ ห้องประชุมวายุภักษ์ 6-7 ชั้น 5 โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ กรุงเทพฯ
    • ความก้าวหน้าและโอกาสจากการมีพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ 

      ยงยุทธ พงษ์สุภาพ; Yongyuth Pongsupap (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07-08)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการ 30 ปี สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ก้าวสู่ทศวรรษที่ 4 : ร่วมกันวิจัย ยกระดับคุณภาพชีวิต (To the Next Decade : Enhance Research for Life) วันที่ 7-8 กรกฎาคม 2565 ณ โรงแรมอัศวิน แกรนด์ ...
    • ความก้าวหน้าในการทบทวนบทบาทกรมควบคุมโรค เพื่อก้าวสู่การพัฒนาระบบป้องกันควบคุมโรคของประเทศที่พึงประสงค์ 

      คณะทำงานจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายกรมควบคุมโรค (กรมควบคุมโรค, 2556-03-02)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมระดมความคิดเห็นผู้บริหารระดับสูงต่อการบริหารการเปลี่ยนแปลงกระทรวงสาธารณสุข ครั้งที่ 2 วันที่ 2 มีนาคม 2556 ณ ห้องประชุมพิมานแมน ชั้น 2 โรงแรมโฟร์ซีซั่น ถ.ราชดำริ กรุงเทพฯ
    • ความครบถ้วนและความถูกต้องของชุดข้อมูลมาตรฐาน 52 แฟ้ม เพื่อใช้เป็นแหล่งข้อมูลสำหรับตัวชี้วัดการดูแลสุขภาพแบบมุ่งเน้นคุณค่าในกลุ่มโรคเบาหวาน 

      สุวภัทร วิชานุวัฒน์; Suwapat Vichanuwat; จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)
      การพัฒนาระบบสารสนเทศแบบบูรณาการ ประกอบด้วย การลงทะเบียนและการสร้างแหล่งเก็บข้อมูลเพื่อใช้ประโยชน์ร่วมกัน ระบบการใช้ประโยชน์สารสนเทศเป็นประเด็นหนึ่งของกรอบแนวความคิดการบริการแบบมุ่งเน้นคุณค่า (value-based healthcare) ...
    • ความครอบคลุมการรับบริการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในเด็กอายุ 0-5 ปี จังหวัดลพบุรีปี 2548 

      พิสิฐ พรหมคำ; Pisit Phromkum (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษาความครอบคลุมการรับบริการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในเด็กอายุ 0-5 ปี จังหวัดลพบุรี โดยการสำรวจภาคตัดขวาง ประชากรเป้าหมาย คือเด็กอายุ 0-5 ปี จำนวน 173 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ...
    • ความครอบคลุมอย่างมีประสิทธิผล (Effective Coverage) ของการบริการในสิทธิหลักประกันโรคเบาหวาน และโรคความดัน 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute; มูลนิธิเพื่อการพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ; International Health Policy Program Foundation (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567)
      ข้อเสนอเชิงนโยบาย (Policy Brief) ความครอบคลุมอย่างมีประสิทธิผล (Effective Coverage) ของการบริการในสิทธิหลักประกันโรคเบาหวาน และโรคความดัน เนื้อหาประกอบด้วย 1) ความครอบคลุมอย่างมีประสิทธิผล (Effective coverage) 2) ...
    • ความครอบคลุมอย่างมีประสิทธิผลและการประยุกต์ใช้ในบริบทประเทศไทย 

      วรณัน วิทยาพิภพสกุล; Woranan Witthayapipopsakul; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; อณิกา อิสลาม มาแชล; Aniqa Islam Marshall; สมธนึก โชติช่วงฉัตรชัย; Somtanuek Chotchoungchatchai; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      ความครอบคลุมอย่างมีประสิทธิผล (effective coverage) เป็นการต่อยอดการวัดความครอบคลุมของบริการสุขภาพที่ใช้กันอย่างแพร่หลายมาแต่เดิมโดยคำนึงถึงคุณภาพและประโยชน์ของบริการเหล่านั้นร่วมด้วย ในช่วงยี่สิบปีที่ผ่านมา องค์การอนามัย ...
    • ความครอบคลุมและการยอมรับของประชาชนในการพ่นสารเคมีและการใช้มุ้งชุบน้ำยาควบคุมไข้มาลาเรีย จังหวัดกระบี่ 

      อนงค์ ภูมชาติ; Anong Poomchart; สมจิตร ศรีศุภร; ไพบูลย์ กีต้า; ไพโรจน์ ชูรักษ์; ก่อเดช ยะลา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      ความครอบคลุมและการยอมรับของประชาชนในการพ่นสารเคมี และการใช้มุ้งชุบน้ำยาควบคุมไข้มาลาเรีย จังหวัดกระบี่ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวัดความครอบคลุมและการยอมรับของประชาชนต่อกิจกรรมควบคุมไข้มาลาเรียเรื่องการพ่นเคมีและการ ...