Now showing items 2829-2848 of 5671

    • ความมั่นคงทางอาหารของคนไทย 

      สำนักงานสนับสนุนการพัฒนายุทธศาสตร์แห่งชาติด้านอาหาร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545-08)
    • ความมั่นใจในความรู้ ทักษะและความสามารถทางการแพทย์และสาธารณสุขของบัณฑิตแพทย์: การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจและการถดถอยพหุคูณ 

      ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; ชมพูนุท ไทยจินดา; นงลักษณ์ พะไกยะ; ธัญธิตา วิสัยจร; นพคุณ ธรรมธัชอารี; วิชช์ เกษมทรัพย์; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Rapeepong Suphanchaimat; Thitikorn Topothai; Chompoonut Thaichinda; Nonglak Pagaiya; Thunthita Wisaijohn; Noppakun Thammathacharee; Vijj Kasemsup; Weerasak Puthasri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-12)
      การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความมั่นใจด้านความรู้ ทักษะและความสามารถทางการแพทย์และสาธารณสุขของบัณฑิตแพทย์และหาความสัมพันธ์ระหว่างความมั่นใจดังกล่าวกับการเป็นแพทย์ในโครงการผลิตแพทย์เพื่อชาวชนบท (แพทย์เพื่อชนบท) ...
    • ความยินดีจ่ายสำหรับบริการการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น 

      พสิษฐ์ พัจนา; Phasith Phatchana; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; ร่มตะวัน กาลพัฒน์; Romtawan Kalapat; นวลจันทร์ แสนกอง; Nuanchan Sankong; กฤษณี สระมุณี; Kritsanee Saramunee; ขวัญดาว มาลาสาย; Khuandao Malasai; กุลปรียา โพธิ์ศรี; Kulpreya Phosri; ภิเษก ระดี; Bhisek Radee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      การศึกษานี้จัดทำขึ้นเพื่อวิเคราะห์มูลค่าความยินดีจ่ายสำหรับบริการการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความยินดีจ่าย กลุ่มตัวอย่างของการศึกษา คือ ประชากรอายุ 18 ปีขึ้นไปที่อาศัยอยู่ในตำบลสะอา ...
    • ความยุติธรรม คำพิพากษา ปัญหาสิ่งแวดล้อม 

      แบ๊งค์ งามอรุณโชติ; Bank Ngamarunchot (สำนักงานปฏิรูป (สปร.), 2556)
      ความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อมที่กล่าวถึงกันนั้นไม่ใช่ปัญหาทางกายภาพที่แยกขาดจาก “คน” หรือ “สังคม” การที่สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมมากขึ้นมีผลกระทบต่อความสัมพันธ์ในสังคมโดยเฉพาะการทำให้เกิด “ความขัดแย้ง” เช่นเมื่อโรงงานปลดปล่อย ...
    • ความรุนแรงต่อผู้พิการ : สถานะความรู้และข้อเสนอโครงการวิจัย 

      เพ็ญจันทร์ ประดับมุข-เชอร์เรอร์ (แผนงานสร้างเสริมสุขภาพคนพิการในสังคมไทย, 2549-03)
      ความรุนแรงเกิดได้กับคนทั่วไปทุกเพศ ทุกวัย ทุกกลุ่ม หากแต่ว่าด้วยโครงสร้างทางสังคมวัฒนธรรมทำให้คนกลุ่มหนึ่งมีแนวโน้มที่ตกเป็นเหยื่อของความรุนแรงมากกว่าคนอีกกลุ่มหนึ่ง บทความชิ้นนี้มุ่งทบทวนแนวคิด และสถานะองค์ความรู้ที่เกี ...
    • ความรุนแรงในครอบครัว : สถานะงานวิจัยและข้อเสนอเพื่อพัฒนาโครงสร้างระบบวิจัยในอนาคต 

      เพ็ญจันทร์ ประดับมุข; Penchan Pradubmook (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      ความรุนแรงในครอบครัว สถานะของงานวิจัยและข้อเสนอเพื่อพัฒนาระบบวิจัยในอนาคต เป็นรายงานการทบทวนองค์ความรู้เพื่อให้ได้กรอบเนื้อหาองค์ความรู้ด้านงานวิจัยเกี่ยวกับความรุนแรงในครอบครัวทั้งในประเทศและต่างประเทศและข้อเสนอทิศทางระ ...
    • ความรู้ การตีตราและประสบการณ์ของแพทย์และพยาบาลเกี่ยวกับวัณโรคและการสำรวจวัณโรคในกลุ่มผู้สัมผัส 

      วรรัตน อิ่มสงวน; Worarat Imsanguan; สุรีรัตน์ ท้าวถึง; Sureerat Thawthong; ศุภเลิศ เนตรสุวรรณ; Supalert Nedsuwan; จินตนา งามวิทยาพงศ์-ยาไน; Jintana Ngamvithayapong-Yanai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      ภูมิหลังและเหตุผล: การสำรวจผู้สัมผัสวัณโรค (contact investigation-CI) เป็นมาตรการสำคัญที่ช่วยลดปัญหาวัณโรค แต่การทำ CI ยังมีความครอบคลุมต่ำ เนื่องจากปัจจัยด้านผู้ป่วย การตีตราทางสังคม รวมทั้งความรู้และทัศนคติของแพทย์และพ ...
    • ความรู้ ทัศนคติ และเหตุผลที่ไม่เรียกใช้บริการการแพทย์ฉุกเฉินของผู้ป่วยฉุกเฉินในประเทศไทย 

      ธีระ ศิริสมุด; Teera Sirisamutr; กิตติพงศ์ พลเสน; Kittipong Ponsen; พรทิพย์ วชิรดิลก; Porntip Wachiradilok (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      ผู้ป่วยฉุกเฉินที่เรียกใช้บริการการแพทย์ฉุกเฉินมีโอกาสที่จะรอดชีวิตและลดความพิการที่อาจจะเกิดขึ้นได้ แต่ปัจจุบันมีการเรียกใช้บริการฯ ค่อนข้างน้อย การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้ ทัศนคติและเหตุผลที่ไม่เรียกใช้บร ...
    • ความรู้ อำนาจ และระบบราชการ : บทวิเคราะห์วัฒนธรรมสาธารณสุข 

      โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์; Komatra Chuengsatiansup (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      งานวิจัยชิ้นนี้เป็นการวิเคราะห์วัฒนธรรมราชการในระบบบริหารงานสาธารณสุข โดยมุ่งทำความเข้าใจกระบวนการทางวัฒนธรรมที่ทำให้ความรู้ ความคิดอ่านและการใช้เหตุผลในลักษณะต่างๆ มีอิทธิพลต่อการบริหารงานและประสบการณ์การทำงานประจำวันใน ...
    • ความรู้ เจตคติ และการปฏิบัติตัวในการใช้ปากกาอินสุลินของผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการในโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเลิงนกทา จังหวัดยโสธร 

      ศิษฎิคม เบ็ญจขันธ์; Sittikom Benchakanta; พิชิต นามวิเศษ; Pichit Namvisate (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การรักษาผู้ป่วยเบาหวานด้วยการฉีดอินสุลิน เป็นวิธีมาตรฐานหนึ่งในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ซึ่งแต่เดิมบริหารโดยการใช้กระบอกฉีดอินสุลินแบบฉีดยาทั่วไป จนกระทั่งปัจจุบันมีการพัฒนาปากกาสำหรับฉีดอินสุลินโดยเฉพาะ ซึ่งสะดวก ...
    • ความรู้ เจตคติ และพฤติกรรมการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม-ทบทวนวรรณกรรม 

      เนติมา คูนีย์; Netima Cooney (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      ปัจจุบันมะเร็งเต้านมยังคงเป็นสาเหตุการตายในอันดับต้นๆ ของหลายประเทศ อย่างไรก็ตาม หากตรวจพบมะเร็งตั้งแต่ระยะเริ่มแรก พบว่ามีโอกาสหายและสามารถลดอัตราการตายจากโรคได้ ดังนั้น การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมจึงเป็นเรื่องสำคัญ ...
    • ความรู้ เจตคติ และพฤติกรรมทางเพศของนักเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษา 

      วัชระ เอี่ยมรัศมีกุล; Watchara Aiumrasamikul; ประทุม หงศาลา; บังอร สิมสีแก้ว; จุรีรัตน์ สุขประเสริฐ; ละเมียด สิงห์ธีร์; ชุติมา ปัตลา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      ความรู้ เจตคติและพฤติกรรมทางเพศของนักเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษาการวิจัยเชิงสำรวจครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับความรู้ เจตคติและพฤติกรรมทางเพศของนักเรียนประถมและมัธยมศึกษา ประชากรที่ศึกษาคือนักเ ...
    • ความรู้ที่จำเป็นเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจที่ดีขึ้นในการกำหนดนโยบายด้านสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในสังคมไทย 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. แผนงานวิจัยและพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพและระบบการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      การศึกษาความรู้ที่จําเป็นเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจที่ดีในการกำหนดนโยบายด้านสารเคมีกําจัดศัตรูพืชในสังคมไทย ไม่ได้มุ่งเน้นความรู้ที่จําเป็นสําหรับสนับสนุนการตัดสินใจของผู้ตัดสินใจในระดับนโยบายเพียงเท่านั้น แต่จะขยายมิติควา ...
    • ความรู้ท้องถิ่น วัฒนธรรมสุขภาพกับสังคมอาเซียน 

      สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ; Society and Health Institute (สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ, 2556-08-07)
      เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการวิชาการสังคมและสุขภาพ ประจำปี 2556 เรื่อง แนวรบสุขภาพ: พรมแดนวัฒนธรรมกับการรุกของทุน (Frontiers of Health: Cultural Borders and the Dominance of Capital) หัวข้อย่อย ความรู้ท้องถิ่น ...
    • ความรู้พื้นฐานด้านการเฝ้าระวัง สอบสวน ป้องกัน ควบคุมโรค สำหรับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 

      อุบลรัตน์ นฤพนร์จิรกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      กระทรวงสาธารณสุขรับนโยบายจากรัฐบาล เมื่อปี พ.ศ. 2552 ให้ปรับปรุงระบบบริการสุขภาพของภาครัฐทุกระดับให้ได้มาตรฐาน โดยยกระดับสถานีอนามัยเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เนื่องจากเป็นนโยบายที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยตรง ...
    • ความรู้เกี่ยวกับนโยบายสนับสนุนระบบบริการสุขภาพโรคเรื้อรังและการมีส่วนร่วมที่หน่วยบริการปฐมภูมิของเภสัชกรโรงพยาบาล 

      อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; หนึ่งฤทัย สุกใส; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; On-anong Waleekhachonloet; Nungruthai Suksai; Thananan Rattanachotphanit; Chulaporn Limwattananon; Samrit Srithamrongsawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-12)
      ในปัจจุบัน ระบบบริการปฐมภูมิมีบทบาทเพิ่มขึ้นในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่สามารถควบคุมอาการได้ การรักษาโรคเรื้อรังเกือบทั้งหมดเป็นการรักษาด้วยยา ดังนั้นเภสัชกรควรมีส่วนร่วมในการดูแลการใช้ยาในหน่วยบริการปฐมภูมิ ...
    • ความรู้เบื้องต้นในการวิเคราะห์ต้นทุนของสถานบริการสาธารณสุข 

      อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล; Anuwat Supachutikul; อดิศวร์ หลายชูไทย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; สุกัลยา คงสวัสดิ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2539)
      เอกสารฉบับนี้เป็นการสรุปความรู้เบื้องต้นที่เป็นพื้นฐานสำคัญในการทำความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องต้นทุน ซึ่งนำแนวคิดทั้งด้านเศรษฐศาสตร์และด้านการบัญชีมาอธิบายควบคู่กันไป เพื่อลดความสับสนแก่ผู้ศึกษา
    • ความรู้เรื่องไข้หวัดนก และพฤติกรรมการป้องกันของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน อำเภอผักไห่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 

      วัชระ รักวาทิน; Watchara Rakwatin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การวิจัยเป็นการศึกษาเชิงพรรณนามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความรู้เรื่องโรคไข้หวัดนก ระดับพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้หวัดนก และเปรียบเทียบพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้หวัดนกของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) อำเภอผักไห่ ...
    • ความรู้และการปฏิบัติตนของหญิงระยะตั้งครรภ์ และระยะหลังคลอด จังหวัดตรัง 

      ราตรี ศิริพลบุญ; Ratree Siripolbul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2537)
      ความรู้และการปฏิบัติตนของหญิงระยะตั้งครรภ์ และระยะหลังคลอดจังหวัดตรังการศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความรู้และการปฏิบัติตน ในการดูแลสุขภาพตนเองของหญิงระยะตั้งครรภ์และระยะหลังคลอด โดยมีการวิจัยแบบเชิงพรรณาแบบย้อนหลัง ...
    • ความรู้และความตระหนักเกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยมหิดล ปีการศึกษา 2554 

      กานนท์ อังคณาวิศัลย์; พศวัต พึ่งเกียรติไพโรจน์; นวลนิตย์ แปงดี; สคณรัช ทองคำคูณ; กัลยรัตน์ วิไลวงศ์เสถียร; พิรญาณ์ เพียรกลิ่นธรรม; สุภาพรรณ ชุมมุง; กมลชนก ดีศรีศักดิ์; ภาณุพงศ์ หาญเจริญพิพัฒน์; ชุติกาญจน์ พูลเพิ่ม; อ่อนอุษา ขันธรักษา; พงศ์ธนยศ กิรติสินธุ์; วรทัต หงส์วาณิชวงศ์; เพชรณเธียร จุลเลศ; ชิดชนก อุดมธนเดชน์; ภวินตรา เจริญเวช; อภิชญา พร้อมพวก; วรางคณา ชิดช่วงชัย; วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Kanont Angkanavisan; Possawat Peungkiatpairote; Nuannit Pangdee; Skonrach Thongkumkoon; Kalyarat Wilaiwongsathien; Piraya Pienklintham; Suphapan Chummung; Kamolchanok Deesrisak; Phanuphong Hancharoenphiphat; Chutikarn Poolpoem; Onusa Khantharaksa; Pongtanayos Keeratisin; Woratat Hongwanichwong; Petchnatien Julles; Chidchanok Udomtanadech; Pawintar Jaroenwet; Aphichaya Phromphauk; Warungkana Chidchuangchai; Visanu Thamlikitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)
      ภูมิหลัง: ปัจจัยสำคัญประการหนึ่งที่สัมพันธ์กับการใช้ยาปฏิชีวนะมากเกินความจำเป็นคือการขาดความรู้และความตระหนักเกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบและให้ความรู้และสร้างความตระหนักเกี่ยว ...