• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
เลือกตามชื่อเรื่อง 
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามชื่อเรื่อง
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามชื่อเรื่อง
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เลือกตามชื่อเรื่อง

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 3912-3931 จาก 5898

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • ประสิทธิภาพของโปรแกรมสุขศึกษา ในการป้องกันภาวะหูเสื่อมจากเสียงดังของคนงานโรงงานสิ่งทอการประมง จังหวัดขอนแก่น 

      นาตยา มาคเชนทร์; Nadtaya Makachen; วิไลวรรณ เทียมประชา; ณัชยาน์ พรหมภักดี; ศิริพร เกตุดาว; Wilaiwan Tiampracha; Nattaya Puampukdee; Siriporn Ketdao (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      ประสิทธิภาพของโปรแกรมสุขศึกษาในการป้องกันภาวะหูเสื่อมจากเสียงดังของคนงานโรงงานสิ่งทอการประมง จังหวัดขอนแก่น ภาวะหูเสื่อมจากเสียงดังยังคงพบเพิ่มขึ้นอีกเป็นจำนวนมากทั้งที่ได้มีความพยายามในการควบคุมและป้องกันอย่างดีแล้วก็ตาม ...
    • ประสิทธิภาพทางเทคนิคของโรงพยาบาลชุมชน กรณีศึกษา : จังหวัดขอนแก่น 

      จักรพันธ์ สุขสวัสดิ์; Jakrapun Suksawat; อนงค์นุช เทียนทอง; Anongnuch Thienthong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การศึกษาวิเคราะห์เชิงปริมาณโดยวิธี Data Envelopment Analysis (DEA) เพื่อวัดประสิทธิภาพด้านเทคนิคในการใช้ทรัพยากรของโรงพยาบาลชุมชนในจังหวัดขอนแก่น จำนวน 20 แห่ง จากข้อมูลผู้ป่วยและทรัพยากรของโรงพยาบาลที่เผยแพร่โดยสำนักงา ...
    • ประสิทธิภาพและความเหมาะสมของการประเมิน LEPTO-SCORE ในการลดความรุนแรงของผู้ป่วยสงสัยโรคเลปโตสไปโรสิสที่ส่งรักษาต่อโรงพยาบาลขอนแก่น : การวิจัยแบบสุ่มขั้นภูมิและมีกลุ่มเปรียบเทียบในจังหวัดขอนแก่น 

      ธนชัย พนาพุฒิ; Thanachai Panaput; วรรณา ปิยะเศวตกุล; ปริศนา วงศ์ศิริขันธ์; บัณฑิต ถิ่นคำรพ; โรงพยาบาลขอนแก่น; Khon Kaen hospital (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      ประสิทธิภาพและความเหมาะสมของการประเมิน LEPTO-SCORE ในการลดความรุนแรงของผู้ป่วยสงสัยโรคเลปโตสไปโรสิสที่ส่งรักษาต่อโรงพยาบาลขอนแก่น: การวิจัยแบบสุ่มขั้นภูมิและมีกลุ่มเปรียบเทียบในจังหวัดขอนแก่น การศึกษาเพื่อทดสอบประสิทธิภา ...
    • ประสิทธิภาพและผลข้างเคียงของยาสูตรจีพีโอเวียร์ ในการรักษาผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวี ที่มีระดับเซลล์ ซีดี4+ ต่างกัน 

      จรูญ ลี้ตระกูลนำชัย; Charoon Leetrakulnumchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การศึกษาพรรณนาแบบย้อนหลัง กลุ่มตัวอย่างผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีอายุ 15 ปีขึ้นไป ที่มีระดับเซลล์ซีดี4+ แตกต่างกันที่ไม่เคยได้รับยาต้านไวรัสมาก่อนได้รับการรักษาด้วยยาสูตรผสมเม็ดเดียวพีจีโอเวียร์นานกว่า 1 ปี ณ โรงพยาบาลสมเด็จ ...
    • ประสิทธิภาพในระบบสุขภาพ 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
    • ประสิทธิศักย์และความปลอดภัยของการใช้ยาแคปซูลฟ้าทะลายโจรเปรียบเทียบกับยาบรรเทาอาการมาตรฐานในผู้ติดเชื้อโควิด-19 ที่ไม่มีอาการหรือมีอาการน้อย (ยังไม่มีปอดอักเสบแรกรับ) : การทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม 

      สุเบญจา พิณสาย; Subencha Pinsai; โศรยา ธรรมรักษ์; Soraya Dhamarak; ชลาลัย คล้ายพิมพ์; Chalalai Klaipim; วรรณพร เอี่ยมวรวุฒิกุล; Wannaporn Eaimworawuthikul; มยุรี ตั้งเกียรติกำจาย; Mayuree Tangkiatkumjai; อาสาฬา เชาวน์เจริญ; Arsala Chaocharoen; ผกากรอง ขวัญข้าว; Pakakrong Kwankhao; อาณัฐชัย ม้ายอุเทศ; Arnatchai Maiuthed (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)
      ผู้ป่วยโรคโควิด-19 ที่ไม่มีอาการหรือมีอาการน้อย ซึ่งได้รับการยืนยันผลการติดเชื้อ Severe Acute Respiratory Syndrome Coronavirus-2 (SARS-CoV-2) ด้วยวิธี Reverse Transcription Polymerase Chain Reaction (RT-PCR) ภายใน 72 ชั่วโมง ...
    • ประสิทธิศักย์และความปลอดภัยของสารสกัดฟ้าทะลายโจร เทียบกับการรักษามาตรฐานในการป้องกันการเกิดปอดอักเสบ ในผู้ติดเชื้อโควิด-19 ที่ไม่มีอาการหรือมีอาการน้อย : การทดลองแบบสุ่ม มีกลุ่มควบคุมและหลายสถานที่วิจัย 

      ธนะวัฒน์ วงศ์ผัน; Thanawat Wongphan; สิรภัทร ตุลาธรรมกิจ; Sirapat Tulatamakit; มยุรี ตั้งเกียรติกำจาย; Mayuree Tangkiatkumjai; เอนก มุ่งอ้อมกลาง; Anek Mungaomklang; ภาณุพงศ์ ตันติรัตน์; Panupong Tantirat; คุณสิริ เสริมศิริโภคา; Khunsiri Sermsiripoca; กุลธนิต วนรัตน์; Kulthanit Wanaratna; ดวงกมล นุตราวงค์; Duangkamol Nutrawong; เจตน์ วันแต่ง; Jate Wantang; ชวัลวลัย เมฆสวัสดิชัย; Chavanvalai Meksawasdichai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      การดูแลรักษาโรคผู้ป่วยโควิค-19 มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เนื่องจากมีความจำกัดของทรัพยากรและความรู้ ในช่วงแรกของการระบาด หนึ่งในทางเลือกของกระบวนการรักษาผู้ป่วย คือ ความพยายามรักษาอาการและลดจำนวนเชื้อ เพื่อไม่ให้เกิดความรุ ...
    • ประเด็นคำถามและข้อเสนอการประชุม การบริหารการเปลี่ยนแปลง 

      คณิศ แสงสุพรรณ (มูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง, 2556-02)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมระดมความคิดเห็นผู้บริหารระดับสูงต่อการบริหารการเปลี่ยนแปลงกระทรวงสาธารณสุข วันที่ 2-3 กุมภาพันธ์ 2556 ณ ห้องประชุมโรงแรมบ้านท้ายหาด จ.สมุทรสงคราม
    • ประเด็นท้าทายของระบบสุขภาพตามเจตนารมณ์สาธารณสุขมูลฐาน: บทสังเคราะห์ข้อเสนอการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพช่องปากของประชากรไทย 

      วรารัตน์ ใจชื่น; Wararat Jaichuen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09-30)
      การพัฒนาระบบดูแลสุขภาพให้สามารถตอบสนองต่อความจำเป็นทางด้านสุขภาพขั้นพื้นฐานของประชากรส่วนใหญ่ได้เป็นเป้าหมายที่ทั่วโลกคาดหวังให้บรรลุผลตั้งแต่ปี ค.ศ. 2000 ประเทศสมาชิกองค์การอนามัยโลกเห็นชอบให้นำหลักการสาธารณสุขมูลฐานมาใ ...
    • ประเด็นเชิงนโยบาย การวิจัยที่สำคัญเร่งด่วนและข้อเสนอแนะเบื้องต้นเกี่ยวกับนโยบายกัญชาทางการแพทย์ในประเทศไทย 

      บัณฑิต ศรไพศาล; Bundit Sornpaisarn; วรานิษฐ์ ลำใย; Waranist Lamyai; เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล; Chet Ratchadapunnathikul; ชัยสิริ อังกุระวรานนท์; Chaisiri Angkurawaranon; นิศาชล เดชเกรียงไกรกุล; Nisachol Dejkriengkraikul; Rehm, Jürgen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      ภูมิหลังและเหตุผล: ประเทศไทยมีระบบกัญชาทางการแพทย์เป็นครั้งแรกที่มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคำถามเชิงนโยบายและวิจัยที่สำคัญเพื่อการติดตามและประเมินผลนโยบายกัญชาทา ...
    • ประเทศไทยกับการขับเคลื่อนประเด็นสุขภาพจิตในเวทีระดับโลก 

      วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; เทอดศักดิ์ เดชคง; Terdsak Detkong; ชะเอม พัชนี; Cha-aim Pachanee; บรรลุ ศุภอักษร; Banlu Supaaksorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      ในสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ความตึงเครียดจากความไม่แน่นอนของสถานการณ์ฯ เพิ่มสูงขึ้น ส่งผลให้จำนวนผู้มีปัญหาทางสุขภาพจิตและภาระโรคทางสุขภาพจิตเพิ่มมากขึ้น ประเทศไทยได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาสุขภาพจิตในช่วงของการระ ...
    • ประเทศไทยร้อนขึ้นหรือ 

      สมชัย บวรกิตติ; เบญจลักษณ์ กาญจนเศรษฐ์; Somchai Bovornkitti; Benjalak Karnchanasest (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
    • ประเภทของบาดแผลและรูปแบบการใช้ยาปฏิชีวนะในผู้ป่วยอุบัติเหตุของโรงพยาบาลมหาสารคาม 

      ชุติมาภรณ์ ไชยสงค์; Chutimaporn Chaiyasong; พิริยา ติยาภักดิ์; Piriya Tiyapak; อนันตเดช วงศรียา; Anantadet Wongsriya; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      ในปี 2559 กระทรวงสาธารณสุขกำหนดให้ “การใช้ยาปฏิชีวนะในบาดแผลสดจากอุบัติเหตุ” เป็นตัวชี้วัดหนึ่งของ Service Plan สาขาการใช้ยาอย่างสมเหตุผล โดยมีเป้าหมายคือ อัตราการใช้ยาปฏิชีวนะไม่เกินร้อยละ 40 ซึ่งอ้างอิงตัวเลขมาจากงานวิ ...
      ป้ายกำกับ:
      ยอดนิยม
    • ประเมินการปฏิบัติตามนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) 

      มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-11)
      รายงานประเมินผลชิ้นนี้เป็นการประเมินผลรอบที่สอง นับเป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เพื่อให้ได้หลักฐานสะท้อนผลแห่งการดำเนินนโยบายอันจะนำไปสู่การปรับสาระนโยบาย (policy contents) และ/หรือการถ่ายทอ ...
    • ประเมินการใช้ยาก่อนและหลังการเบิกจ่ายตรงของสวัสดิการข้าราชการในโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์ในกรุงเทพมหานคร 

      เพชรรัตน์ พงษ์เจริญสุข; อรลักษณ์ พัฒนาประทีป (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-09-29)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินแนวโน้มการใช้ยาในโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์ ก่อนและหลังการเบิกจ่ายตรงของสวัสดิการข้าราชการ (เริ่มปีงบประมาณ 2550) โดยเก็บข้อมูลจากใบสั่งยาผู้ป่วยนอกจากฐานข้อมูลอิเลกทรอนิกส์ในปีงบประมาณ ...
    • ประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานวิจัยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข 

      ปานจักษ์ เหล่ารัตนวรพงษ์; ไพบูลย์ อ่อนมั่ง; นำชัย ศุภฤกษ์ชัยสกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-06)
      การวิจัยประเมินผลความพึงพอใจของผู้ใช้งานวิจัยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)ศึกษาและสำรวจถึงระดับความพึงพอใจของผู้ใช้งานวิจัยสวรส. ทั้งในด้านเนื้อหางานวิจัยและการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารงานวิจัย ...
    • ประเมินนโยบายการดูแลสุขภาพระยะกลางของกระทรวงสาธารณสุข: การวิเคราะห์เชิงปริมาณ 

      ธัญพร ชื่นกลิ่น; Thunyaporn Chuenklin; นงณภัทร รุ่งเนย; Nongnaphat Rungnoei; นภัส แก้ววิเชียร; Naphas Kaeowichian; เบญจพร สุธรรมชัย; Benjaporn Suthamchai; กฤติกา โคตรทอง; Krittika Khotthong; วิชาญ เกิดวิชัย; Wicharn Girdwichai; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์การดำเนินงานการดูแลสุขภาพระยะกลางตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข หน่วยบริการสุขภาพที่ดูแลสุขภาพระยะกลางในผู้ป่วย 3 กลุ่มโรคได้แก่โรคหลอดเลือดสมอง สมองบาดเจ็บและไขสันหลังบาดเจ็บ จำนวน ...
    • ประเมินนโยบายจังหวัดยะลา ชาวยะลาสุขภาพดี ตั้งแต่ก่อนเกิดจากครรภ์มารดาสู่เชิงตะกอนอย่างมีศักดิ์ศรี 

      เพลินพิศ พงศ์ปริญญากุล (สาธารณสุขจังหวัดยะลา, 2555-07-11)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัยครั้งที่ 5 “วิถี R2R: เรียบง่าย คุณภาพ ครบวงจร” วันที่ 10 - 12 กรกฎาคม 2555 ณ ศูนย์การประชุมอิมแพ็คฟอรั่ม เมืองทองธานี
    • ประเมินผลกระทบชุดโครงการที่มีลำดับความสำคัญสูงที่ได้รับการสนับสนุนจากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข 

      สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์; Somkiat Tangkitwanich; ศักดิ์สินี กลิ่นสุนทร; ธราธร รัตนนฤมิตศร; สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย; Thailand Develoment Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      เอกสารชุดนี้เป็นการประเมินชุดโครงการที่ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ได้แก่ ชุดโครงการปฏิรูประบบสุขภาพ ชุดโครงการส่งเสริมการวิจัยระดับพื้นที่ ชุดโครงการส่งเสริมการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการสร้า ...
    • ประเมินผลงานสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข 

      สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์; Somkiat Tangkitwanich; ศักดิ์สินี กลิ่นสุนทร; ธราธร รัตนนฤมิตศร; สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย; Thailand Develoment Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      รายงานการศึกษานี้เป็นการประเมินผลงานของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ประกอบด้วย การประเมินผลกระทบและประโยชน์ที่เกิดจากการดำเนินงานของสวรส. การประเมินการดำเนินงานตามแผนและเป้าหมายที่กำหนด การบริหารจัดการและจุดอ่อนจุดแข็งของสวรส. ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [620]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1292]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [234]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV