• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
เลือกตามชื่อเรื่อง 
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามชื่อเรื่อง
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามชื่อเรื่อง
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เลือกตามชื่อเรื่อง

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 4040-4059 จาก 5898

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • ปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2547 

      เยาวรัตน์ ปรปักษ์ขาม; Yawarat Porapakkham; จรรยา ภัทรอาชาชัย; Junya Plattara-Achachai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การศึกษานี้เป็นหนึ่งของการสำรวจระดับประเทศโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาสุขภาพของประชากรสูงอายุไทยในเรื่องภาวสุขภาพโดยรวม ความชุกของพฤติกรรมเสี่ยง ภาวะเสี่ยงด้านชีวภาพ และการรับรู้ว่าเป็นโรค ตลอดจนการรักษาและควบคุมโ ...
    • ปัญหาสุขภาพจิตของเด็กในกรุงเทพมหานคร : การศึกษาทางระบาดวิทยา 

      เบญจพร ปัญญายง; Benjaporn Panyayong; อลิสา วัชรสินธุ; Alisa Wacharasindhu (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, ราชวิทยาลัยจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 2541)
    • ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของพยาบาลวิชาชีพในประเทศไทย 

      เพชรสุนีย์ ทั้งเจริญกุล; Petsunee Thungjaroenkul; กฤษดา แสวงดี; Krisada Sawaengdee; ตวงทิพย์ ธีระวิทย์; Tuangtip Theerawit; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tungcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-03)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมการดูแลสุขภาพระหว่างพยาบาลประจำการกับพยาบาลวิชาชีพที่ไม่เป็นพยาบาลประจำการ โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิจากโครงการวิจัย: สุขภาพและชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพในประเทศไทย ...
    • ปัญหาสุขภาวะเด็ก กฎหมาย/นโยบายที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคและการจัดลำดับความสำคัญปัญหาสุขภาวะเด็ก 0 - 5 ปี ในประเทศไทย 

      จอมขวัญ โยธาสมุทร; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; นัยนา ประดิษฐ์สิทธิกร; สุทธิษา สมนา; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; ลัดดา เหมาะสุวรรณ; นิพรรณพร วรมงคล; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; สุชัญญา อังกุลานนท์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Jomkwan Yothasamut; Pitsaphun Weerayingyong; Naiyana Praditsitthikorn; Sutthisa Sommana; Sripen Tantivess; Ladda Mo-suwan; Nipunporn Voramongkol; Kanittha Boonthamcharoen; Suchunya Aungkulanon; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-12)
      ระบบสุขภาพของประเทศไทยให้ความสำคัญกับการดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคมาเป็นระยะเวลานาน แต่ยังเป็นการดำเนินการแบบแยกส่วน ส่งผลให้ขาดความร่วมมือ ทิศทาง และเป้าหมายของการดำเนินงานที่ชัดเจน หากดำเนินการแบบองค ...
    • ปัญหาเรื่องเท้าและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในคลินิกเบาหวาน โรงพยาบาลองค์รักษ์ 

      ทัศนีย์ รวีภควัต (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-12)
    • ปัญหาและทุกข์ของประชาชนเมื่อใช้บริการสถานบริการสาธารณสุข 

      โยธิน แสวงดี; Yothin Sawangdee; พิมลพรรณ อิศรภักดี; มาลี สันภูวรรณ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      ปัญหาและทุกข์ของประชาชนเมื่อใช้บริการสถานบริการสาธารณสุข งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาทุกข์ของผู้รับบริการสุขภาพเพื่อเสนอข้อแนะนำในการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในประเทศไทย การศึกษานี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพร่วมกับเชิงปริมาณโดยเก็บข้ ...
    • ปัญหาและอุปสรรคของการใช้โปรแกรมรับแจ้งเหตุและสั่งการการแพทย์ฉุกเฉินในการคัดแยกและจัดลำดับการจ่ายงาน 

      ภาวิตา เลาหกุล; Pavita Laohakul; บวร วิทยชำนาญกุล; Borwon Wittayachamnankul; คัมภีร์ สรวมสิริ; Kamphee Sruamsiri; ปริญญา เทียนวิบูลย์; Parinya Tianwibool (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09-30)
      ภูมิหลังและเหตุผล การรักษาผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลที่ล่าช้าและไม่เหมาะสมอาจทำให้ผู้ป่วยอาการแย่ลงได้ การใช้โปรแกรม ITEMS (information technology for emergency medical system) ก่อนรับผู้ป่วย ช่วยให้เลือกชุดปฏิบัติการฉุกเฉินเหม ...
    • ปัญหาและอุปสรรคของเครือข่ายการรักษาผู้ป่วยเด็กโรคเนื้องอกสมองและไขสันหลังในประเทศไทย 

      อาภาศรี ลุสวัสดิ์; Apasri Lusawat; สมใจ กาญจนาพงศ์กุล; Somjai Kanjanapongkul; สุรเดช หงส์อิง; Suradej Hongeng (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      การศึกษาปัญหาและอุปสรรคของเครือข่ายการรักษาผู้ป่วยเด็กโรคเนื้องอกสมองและไขสันหลังในประเทศไทยเป็นส่วนหนึ่งของโครงการเครือข่ายผู้ป่วยเด็กโรคเนื้องอกในสมองและไขสันหลังในประเทศไทย คณะผู้จัดทำต้องการค้นหาปัญหาและอุปสรรคในระบบ ...
    • ปัญหาและแนวทางการพัฒนาการเฝ้าระวัง สถานที่และผลิตภัณฑ์ : กรณีศึกษาการแพร่ระบาดของยาเม็ดสเตียรอยด์ 

      ดวงทิพย์ หงษ์สมุทร; Duangtip Hongsamoot; เพ็ญจันทร์ ประดับมุข; พรพิมล ขัตติมานนท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      ปัญหาและแนวทางการพัฒนาการเฝ้าระวัง สถานที่และผลิตภัณฑ์ :กรณีศึกษาการแพร่ระบาดของยาเม็ดสเตียรอยด์การศึกษานี้สะท้อนให้เห็นปัญหาของระบบเฝ้าระวังความปลอดภัยของการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณ-สุข โดยมุ่งเน้นไปที่องค์ประกอบของข ...
    • ปัญหาและแนวทางการพัฒนาการเฝ้าระวังสถานที่และผลิตภัณฑ์: กรณีศึกษาการแพร่ระบาดของยาเม็ดสเตียรอยด์ 

      ปณิธาน หล่อเลิศวิทย์ (2541)
      ในขณะที่ยาเม็ดสเตียรอยด์ถือเป็นยาควบคุมพิเศษที่อนุญาตให้ขายได้เฉพาะตามใบสั่งแพทย์และร้านขายยาที่มีเภสัชกรปฏิบัติหน้าที่เท่านั้น เพราะเป็นยาที่มีอันตรายจากผลข้างเคียงสูงมาก แต่ในความเป็นจริง เส้นทางของยาสเตียรอยด์ในประเทศ ...
    • ปากั๋นแอ่วกอย คอยสร้างทางเตียว เหลียวมาอู้กั๋น (ป๊ะกั๋นแหมเตื่อ) 

      ชมรมโกลบอลแคมปัสเชียงใหม่ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพสถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ, 2554)
    • ปาฐกถาพิเศษ เรื่อง ระบบสุขภาพไทย : มุมมองของราษฎรเต็มขั้น 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03)
    • ปิดช่องว่างด้วยระบบสุขภาพ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-03)
      บทความในวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2564 ให้ความสำคัญกับการลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย โดยให้ความสนใจกับสุขภาพเด็กตั้งแต่เริ่มต้นด้วยการให้ทารกได้กินนมแม่ นโยบายกินนมแม่อย่างเดียวจนอายุหกเดือ ...
    • ปีใหม่นี้ขอทีอย่าเมา 

      กองบรรณาธิการ (2550-12)
    • ปูมประวัติศาสตร์มหิดลเพื่อประชาธิปไตย : (พ.ศ. 2516-2526) 

      คณะกรรมการปูมประวัติศาสตร์มหิดลเพื่อประชาธิปไตย; Committee of Mahidol historical almanac for democracy (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      หลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 นักศึกษาร่วมกับผู้บริหารมหาวิทยาลัยมหิดลจัดสัมมนา “โครงการพัฒนามหาวิทยาลัยมหิดล” นำเสนออุดมการณ์มหาวิทยาลัยมหิดลที่ “มุ่งผลิตบุคลากรออกไปรับใช้ประชาชนผู้ด้อยโอกาสในสังคม” มีการจัดตั้งพรร ...
    • ปูมประวัติศาสตร์มหิดลเพื่อประชาธิปไตย : ภาคที่ 1 (พ.ศ. 2510-2516) 

      คณะกรรมการปูมประวัติศาสตร์มหิดลเพื่อประชาธิปไตย; Committee of Mahidol historical almanac for democracy (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      การได้รับชัยชนะของประเทศจีนในต้นทศวรรษ 2490 ทำให้ภูมิภาคเอเชียและกลุ่มประเทศอินโดจีนเป็นจุดยุทศาสตร์สำคัญจุดหนึ่งของโลกในยุคสงครามเย็น ประเทศไทยถูกกำหนดโดยประเทศมหาอำนาจตะวันตกให้เป็นด่านหน้าสำคัญ เพื่อต่อสู้ปิดล้อมระบอ ...
    • ผลกระทบ UC ต่อบริการปฐมภูมิ 

      นิทัศน์ รายยวา (กระทรวงสาธารณสุข, 2555-03)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในทศวรรษที่สอง วันที่ 21-22 มีนาคม 2555 ณ ห้องคอนเวนชั่น (ชั้น 4) อาคารคอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ โรงแรมรามาการ์เด้นส์ ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพมหานคร
    • ผลกระทบ UC ต่อบริการปฐมภูมิ 

      สุพัตรา ศรีวณิชชากร (สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน, 2555-03)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในทศวรรษที่สอง วันที่ 21-22 มีนาคม 2555 ณ ห้องคอนเวนชั่น (ชั้น 4) อาคารคอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ โรงแรมรามาการ์เด้นส์ ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพมหานคร
    • ผลกระทบของการจ่ายค่าตอบแทนบุคลากร การแพทย์ในระบบจ่ายตามปริมาณงาน และไม่ทำเวชปฏิบัติส่วนตัว 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; ดวงสมร บุญผดุง; ประดิษฐ์ วงษ์คณารัตนกูล; สุวัฒน์ กิตติดิลกกุล; นฤมล ศิลารักษ์ (กองโรงพยาบาลภูมิภาค กองสาธารณสุขภูมิภาคและสำนักนโยบายและแผนสาธารณสุข, 2539)
      รายงานผลการวิจัยผลกระทบของการจ่ายค่าตอบแทนบุคลากรการแพทย์ในระบบจ่ายตามปริมาณงาน และไม่ทำเวชปฏิบัติส่วนตัว การวิจัยนี้มีจุดประสงค์หลักเพื่อประเมินผลกระทบของวิธีการจ่ายเงินคือ ารศึกษา
    • ผลกระทบของการดื่มแอลกอฮอล์ต่อผู้อื่น: แนวคิด สถานการณ์ และช่องว่างของความรู้ของประเทศไทย 

      อรทัย วลีวงศ์; ทักษพล ธรรมรังสี; จินตนา จันทร์โคตรแก้ว; Orratai Waleewong; Thaksaphon Thamarangsi; Jintana Jankhotkaew (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-06)
      ผลกระทบของการดื่มแอลกอฮอล์ต่อผู้อื่น (Alcohol’s Harm to Others) เป็นมิติหนึ่งในผลกระทบทั้งหมดที่เกิดจากการดื่มแอลกอฮอล์ โดยให้ความสนใจผลกระทบเชิงลบที่เกิดขึ้นกับบุคคลอื่นนอกจากผู้ดื่ม ซึ่งมักมีลักษณะตามรูปแบบความสัมพันธ์ ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [620]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1292]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [234]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV