Browsing by Title
Now showing items 449-468 of 5837
-
กฎหมายเกี่ยวกับยา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-08-15)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานระบบยาของประเทศไทย (ฉบับที่ 3) วันที่ 15-16 สิงหาคม พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชุมตันจง พาการ์ ชั้น 8 โรงแรมอัมรา กรุงเทพฯ -
กฏนูเรมเบิร์ก
(สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2552-08)กฏนูเรมเบิร์กเป็นหลักเกณฑ์จริยธรรมสากลสำหรับการวิจัยในมนุษย์ที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง โดยเป็นกฎเกณฑ์ที่เขียนขึ้นเพื่อป้องกันมิให้มีการละเมิดจริยธรรม เช่นที่เกิดขึ้นในกองทัพนาซี กฎดังกล่าวเขียนขึ้นขณะที่ทั่วโลกเฝ้า ... -
กฏบัตรออตตาว่าด้วยการสร้างเสริมสุขภาพและข้อเสนอแนะต่อนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)คําประกาศอัลมา-แอตตา (The Declaration of Alma-Ata) ในทศวรรษที่ผ่านมาถือเป็นก้าวสําคัญในการเคลื่อนไหวเรื่อง สุขภาพดีถ้วนหน้า (Health for All) นับตั้งแต่มีการเริ่มต้นประชุมสมัชชาสุขภาพโลกเมื่อค.ศ. 1977 การเคลื่อนไหวครั้งนี ... -
กฏหมายความปลอดภัยทางชีวภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)เทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่มีความก้าวหน้ามากในปัจจุบันนี้ ไม่ว่าจะในทางการแพทย์ การเกษตร หรือแม้กระทั่งด้านสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีที่ว่านี้ได้ถูกนำมาสร้างสรรค์นวัตกรรมขึ้นมากมาย เช่น สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมในรูปแบบต่างๆ ... -
กรณีศึกษา : การพัฒนารูปแบบการดำเนินงานที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการลดการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์นับเป็นปัญหาที่สำคัญของประเทศไทย มีการกำหนดมาตรการเพื่อลดการบริโภคทั้งมาตรการทางกฎหมายและมาตรการทางสังคม การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการดำเนินงานที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการลดพฤติกรรม ... -
กรณีศึกษา แนวปฏิบัติที่ดีในการดำเนินการตามกุญแจ PLEASE สู่การเป็น RDU Hospital
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)โครงการวิจัยเพื่อพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาโรงพยาบาลที่เข้าร่วมในโครงการโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU Hospital) ในประเทศไทย ซึ่งดำเนินการภายใต้คณะอนุกรรมการส่ง ... -
กรณีศึกษาการวิเคราะห์ต้นทุนบริการสุขภาพปฐมภูมิเปรียบเทียบระหว่างโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลถ่ายโอนแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและที่คงสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบต้นทุนต่อหน่วยของบริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ที่ถ่ายโอนไปเทศบาลเมือง และเทศบาลตำบล และ รพ.สต. ที่ยังสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ใช้วิธีวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยแบบมาตรฐาน ... -
กรณีศึกษาเปรียบเทียบระบบดูแลผู้ป่วยภาวะไตวายเรื้อรัง อำเภอคลองขลุง จ.กำแพงเพชร และ อำเภอกงหรา จ.พัทลุง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-12)การขยายชุดสิทธิประโยชน์ความคุ้มครองแก่ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติตั้งแต่ พ.ศ. 2550 เป็นต้นมานั้น มีผู้ป่วยเข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในขณะที่ความไม่เท่าเทียมในการเข้าถึงบริการทด ... -
กรณีอ้างอิงเมโสเธลิโอมา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)ผู้เขียนได้ยินได้ฟังนักวิชาการไทยหลายท่านวิจารณ์บ่อยๆ ว่าผู้นิพนธ์ไทยมักไม่อ้างอิงผลงานเขียนของคนไทย อ้างแต่ผลงานของต่างชาติ เร็วๆ นี้ผู้เขียนไปอ่านพบบทความรายงานผู้ป่วย เรื่อง มะเร็วเยื่อหุ้มปอดจากการทำงานในประเทศไทย ... -
กรอบการวิจัย สวรส. ปี 2562 ประเด็นวิจัย : Service delivery, Workforce, Governance
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01-15)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมชี้แจงกรอบการวิจัยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2562 ประเด็นวิจัย การพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ ระบบบริการ และระบบอภิบาลสุขภาพ วันที่ 15 มกราคม 2561 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพ -
กรอบการวิจัย สวรส. ปี 2562 ประเด็นวิจัย : การเงินการคลังสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-01-15)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมชี้แจงกรอบการวิจัยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2562 ประเด็นการเงินการคลังสุขภาพ วันที่ 15 มกราคม 2561 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพ -
กรอบการวิจัยด้านสุขภาพประจำปี 2566 ข้อเสนอโครงการแบบไหนตอบโจทย์งานวิจัย สวรส.
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01-28)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมก้าวสู่มิติใหม่กับการวิจัยพัฒนาระบบสุขภาพ วันที่ 28 มกราคม 2565 เวลา 08.30 – 16.30 น. (ในรูปแบบออนไลน์) -
กรอบงานวิจัยระบบยา ปี 2566
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01-28)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมก้าวสู่มิติใหม่กับการวิจัยพัฒนาระบบสุขภาพ วันที่ 28 มกราคม 2565 เวลา 08.30 – 16.30 น. (ในรูปแบบออนไลน์) -
กรอบนโยบายและยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนระบบสุขภาพในประเทศบราซิล สหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร : บทเรียนสำหรับการจัดทำธรรมนูญสุขภาพแห่งชาติ
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2551)พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ เป็นกฎหมายแม่บทด้านสุขภาพ มุ่งหวังเพื่อให้เป็นเครื่องมือของทุกฝ่ายในสังคมใช้ร่วมกัน โดยวางกลไกยุทธศาสตร์เพื่อเปิดทางให้ทุกฝ่ายในสังคม เป็นเจ้าของ ดูแลรับผิดชอบร่วมกัน และกำหนดให้ตราธรรมนูญว่าด ... -
กรอบนโยบายและยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนระบบสุขภาพในประเทศบราซิล สหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร: บทเรียนสำหรับการจัดทำรัฐธรรมนูญสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2551
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-04)บัญญัติสุขภาพแห่งชาติ เป็นกฎหมายแม่บทด้านสุขภาพ มุ่งหวังเพื่อให้เป็นเครื่องมือของทุกฝ่ายในสังคมใช้ร่วมกัน โดยวางยุทธศาสตร์เพื่อเปิดทางให้ทุกฝ่ายในสังคมเป็นเจ้าของ ดูแลรับผิดชอบร่วมกัน และกำหนดให้ตราธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภ ... -
กรอบบริการฟื้นฟูโดยคนพิการและครอบครัวในศูนย์บริการคนพิการทั่วไปสำหรับความพิการทางสติปัญญา ออทิสติกและการเรียนรู้
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากรอบบริการฟื้นฟูโดยคนพิการและครอบครัวในศูนย์บริการคนพิการทั่วไปสำหรับความพิการทางสติปัญญา ออทิสติก และการเรียนรู้ที่มีอยู่ในปัจจุบัน และศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาบริการอื่นๆ ที่จำเป็น ... -
กรอบวิจัยประจำปี 2566 แผนงานวิจัยจีโนมิกส์ประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01-28)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมก้าวสู่มิติใหม่กับการวิจัยพัฒนาระบบสุขภาพ วันที่ 28 มกราคม 2565 เวลา 08.30 – 16.30 น. (ในรูปแบบออนไลน์) -
กรอบแนวคิดการวิจัยของระบบยาประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-08-15)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานระบบยาของประเทศไทย (ฉบับที่ 3) วันที่ 15-16 สิงหาคม พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชุมตันจง พาการ์ ชั้น 8 โรงแรมอัมรา กรุงเทพฯ -
กรอบแนวคิดของระบบบริการสุขภาพแบบเขตสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข: มุมมองทางวิชาการ เพื่อการพัฒนางานวิจัย
(คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556-12-23)เอกสารนำเสนอประกอบการอบรมโครงการพัฒนานักวิจัยในเขตสุขภาพ รุ่นที่ 1 วันที่ 23-27 ธันวาคม 2556 ณ ห้องประชุมสานใจ 1 ชั้น 6 อาคารสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข -
กรอบแนวคิดปัจจัยเชิงประจักษ์ที่สัมพันธ์กับการเป็นผู้ประกันตนภาคสมัครใจในระบบประกันสังคม: การประยุกต์ใช้เพื่อขยายความคุ้มครองในระบบประกันสังคม มาตรา 40 ของประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)ภูมิหลังและเหตุผล: การขยายความคุ้มครองของระบบประกันสังคมสู่แรงงานนอกระบบเป็นเป้าหมายสำคัญของหลายประเทศ ประเทศไทยส่งเสริมและขยายความคุ้มครองนี้สู่แรงงานนอกระบบผ่านพระราชบัญญัติประกันสังคมมาตรา 40 ที่เป็นภาคสมัครใจ ...