Now showing items 5040-5059 of 5674

    • สุขภาพคนไทยร่วมสร้างมิติใหม่ในอาเซียน 

      สมเกียรติ วัฒนศิริชัยกุล; Somkiat Wattanasirichaigoon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-09-04)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการวิจัยระบบสุขภาพ ครั้งที่ 3 ประจำปี 2557 “วิจัย...เปลี่ยนชีวิต” วันที่ 4-5 กันยายน 2557 ณ อิมแพคฟอรั่ม เมืองทองธานี
    • สุขภาพจิตของผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอชไอวี โรงพยาบาลโนนสะอาด จังหวัดอุดรธานี 

      สุทธิพงษ์ ปิ่นแก้ว; Suthipong Pinkaew (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การวิจัยเชิงพรรณนา โดยการสำรวจแบบภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับสุขภาพจิตของผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอชไอวี โรงพยาบาลโนนสะอาด อำเภอโนนสะอาด จังหวัดอุดรธานี กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยที่มารับยาต้านเอชไ ...
    • สุขภาพจิตประชากรอายุ 15-59 ปี อำเภอละงู จังหวัดสตูล 

      ปวิตร วณิชชานนท์; Pawit Vanichanon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      สถิติประชาชนอายุ 15-59 ปี ไปรับบริการที่โรงพยาบาลละงู เนื่องจากปัญหาสุขภาพจิตมีแนวโน้มสูงขึ้น โดย พ.ศ.2547, 2548 และ 2549 มีอัตรา 3,219.54, 3,538.6 และ 4,625.00 ต่อประชากรแสนคนตามลำดับ จำนวนผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและจากการฆ่า ...
    • สุขภาพชายแดน: การข้ามพรมแดนเพื่อมารับบริการสุขภาพในประเทศไทยของผู้ป่วยจากประเทศเมียนมาร์ ลาวและกัมพูชา 

      ณิภัทรา หริตวร; ชนินตร์นันทร์ สุขเกษม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561)
      สถานการณ์สาธารณสุขชายแดนเป็นสถานการณ์ที่ซับซ้อนเนื่องจากมีความแตกต่างทางบริบททางสังคมวัฒนธรรม ภูมิประเทศ การเมืองและเศรษฐกิจ ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับประเทศ เมียนมาร์ กัมพูชา ลาวและมาเลเซีย ...
    • สุขภาพทางเพศและสิทธิอนามัยเจริญพันธ์ุของผู้พิการ 

      เพ็ญจันทร์ เชอร์เรอร์; อุบลพรรณ ธีระศิลป์ (สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ, 2554-11)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ทบทวนองค์ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพทางเพศและสิทธิอนามัยเจริญพันธุ์ในกลุ่มคนพิการ 2. ศึกษาสุขภาวะทางเพศ และประสบการณ์ด้านอนามัยเจริญพันธุ์ในประเด็นประสบการณ์เรื่องเพศภาวะ เพศวิถี อนามัยเจริญพันธุ์ ...
    • สุขภาพปฐมภูมิ บริการปฐมภูมิ จากปรัชญาสู่ปฏิบัติการสุขภาพมิติใหม่ 

      โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์; ประชาธิป กะทา (สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ, 2550-11)
      แม้ว่าระบบการดูแลสุขภาพปฐมภูมิ หรือ Primary Care จะถูกกล่าวถึงและนำไปปฏิบัติเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิรูประบบบริการสุขภาพเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ามาได้ระยะหนึ่งแล้ว แต่แนวคิดเรื่องการดูแลสุขภาพปฐมภูมิก็ยังขาดการทำคว ...
    • สุขภาพประชาชนไทย: เรากำลังจะไปทางใด 

      ยงยุทธ ขจรธรรม (2551-12-04)
      การเปลี่ยนผ่านด้านต่าง ๆ ในประเทศไทย ส่งผลกระทบอย่างไรต่อสุขภาพของคนไทย จำเป็นจะต้องทบทวนให้รู้เท่าทันสถานการณ์ปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต เพื่อระบบสาธารณสุขให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
    • สุขภาพสังคม ความขัดแย้ง ความรุนแรง กับระบบบริการสุขภาพ 

      ไพศาล วิสาโล ,พระ; ชัยวัฒน์ สถาอานันท์; โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์; นารี เจริญผลพิริยะ; กิตติชัย งามชัยพิสิฐ; เมธัส อนุวัตรอุดม; ดวงหทัย บูรณเจริญกิจ; ยงยุทธ บูรณเจริญกิจ; นงลักษณ์ ตรงศีลสัตย์ (สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ, 2550-10)
      หนังสือเรื่อง สุขภาพสังคม: ความขัดแย้ง ความรุนแรงกับระบบบริการสุขภาพ นี้ เป็นผลจากโครงการศึกษาวิจัยเรื่อง การใช้กระบวนการสันติวิธีและการจัดการความขัดแย้งในระบบการแพทย์และสาธารณสุข อันมีวัตถุประสงค์เพื่อให้บุคลากรในระบบสุ ...
    • สุขภาพสังคม สู่สังคมสันติภาพ : มนุษย์พ้นทุกข์ร่วมกันได้ 

      ประเวศ วะสี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานปฏิรูประบบสุขภาพ, 2545-07-01)
      มนุษย์ล้วนตกอยู่ภายใต้ความทุกข์ความบีบคั้นด้วยประการต่างๆ ทั้งทางกาย ทางจิต ทางสังคม และทางปัญญา เสมือนไก่อยู่ในเข่งที่รอเวลาเขาเอาไปเชือด ไม่รู้จะบินออกจากเข่งหรือกรอบที่บีบคั้นเราได้อย่างไร แต่มนุษย์ไม่ใช่ไก่ มนุษย์มีปัญญา ...
    • สุขภาพและความปลอดภัยของแรงงานมิติทางสังคมศาสตร์ 

      มหาวิทยาลัยมหิดล. โครงการจัดตั้งภาควิชาสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      สุขภาพและความปลอดภัยของแรงงานมิติทางสังคมศาสตร์การศึกษาวิจัยเรื่องสุขภาพและความปลอดภัยของแรงงานของไทยที่ผ่านมานั้น เป็นการศึกษาที่แยกส่วนและลดส่วน การแยกส่วนหมายถึง การแยกปัญหาของร่างกายออกจากจิตใจ และสังคมเป็นปัญหาแต่ละปัญหาไป ...
    • สุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่รอบเขตอุตสาหกรรมปิโตรเคมี 

      จันทร์ทิพย์ อินทวงศ์; สุนทร เหรียญภูมิการกิจ; ชาติวุฒิ จำจด; นัยนา พันโกฏิ; Chanthip Intawong; Sunthorn Rheanpumikankit; Chattiwut Chamchod; Naiyana Phankote (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาพรรณนาภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสุขภาพ ระดับคุณภาพชีวิต และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชนกลุ่มตัวอย่าง 943 คน ที่อาศัยอยู่รอบเขตประกอบการอุตสาหกรรมปิโตรเคมีแ ...
    • สุขภาพโลก ค.ศ.2020 : ภาพอนาคตเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ 

      ลักขณา เติมศิริกุลชัย; Lukana Termsirikulchai; สุชาดา ตั้งทางธรรม; Suchada Tangtangtham (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      แนวโน้มของสถานการณ์โลกใน ค.ศ. 2020 มีแนวโน้มทั้งด้านบวก เช่น ความเคลื่อนไหวเรื่องเมือง/ชุมชนน่าอยู่และโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ขณะเดียวกันก็มีแนวโน้มด้านลบ เช่น มหันตภัยเกิดจากบรรยากาศของโลก การขาดแคลนอาหาร การว่างงาน ...
    • สุขภาพในฐานะอุดมการณ์ของมนุษย์ 

      Unknown author (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
    • สุนทรียสาธกสู่การค้นหาและกำจัดจุดอ่อน 

      วิศิษฎ์ สงวนวงศ์วาน (โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จ.อุบลราชธานี, 2555-07-10)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัยครั้งที่ 5 “วิถี R2R: เรียบง่าย คุณภาพ ครบวงจร” วันที่ 10 - 12 กรกฎาคม 2555 ณ ศูนย์การประชุมอิมแพ็คฟอรั่ม เมืองทองธานี
    • สุนทรียะสนทนาวิกฤตความสัมพันธ์ระหว่างผู้ป่วยกับแพทย์ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ได้ร่วมกับ มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ (มสช.) จัดเสวนาวิชาการ วิกฤตความสัมพันธ์ระหว่างผู้ป่วยกับแพทย์ เพื่อหาทางออกในเชิงสร้างสรรค์จากเหตุการณ์การฟ้องร้องแพทย์ที่เกิดขึ้นอยู่เนืองๆ ...
    • สุราไม่ใช่สินค้าธรรมดา : กรณีศึกษาสาวเชียร์เบียร์ 

      ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา (ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา, 2550)
    • สุราไม่ใช่สินค้าธรรมดา : เรียนรู้ปัญหาจากกรณีตกเป็นข่าว 

      ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา (ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา, 2550)
    • สู่การปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ 

      วิพุธ พูลเจริญ; Wiput Phoolcharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
    • สู่นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ : การพัฒนาระบบการประเมินผลกระทางสุขภาพในประเทศไทย 

      เกษม วัฒนชัย; Kasem Wattanachai; วิพุธ พูลเจริญ; สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ; เดชรัต สุขกำเนิด; ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      "สุขภาพ" ของมนุษย์มีความสัมพันธ์เชิงพลวัตกับปัจจัยต่างๆ ทั้งปัจเจกบุคคล ครอบครัว ชุมชนและสภาพแวดล้อมอื่นๆ ทั้งทางสังคม กายภาพ ชีวภาพ รวมทั้งระบบบริการสุขภาพ ดังนั้น การดำเนินการต่างๆ ล้วนแต่ก่อผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อม ...