Now showing items 1-17 of 17

    • การคงอยู่ในชนบทของบัณฑิตแพทย์ในโครงการผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบท 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; ลลิตยา กองคำ; วรางคณา วรราช; สัญญา ศรีรัตนะ; กฤษฎา ว่องวิญญู; Nonglak Pagaiya; Lalitthaya Kongkam; Warangkhana Worarat; Sanya Sriratana; Krisada Wongwinyou (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      การศึกษานี้เพื่อวิเคราะห์การคงอยู่ในชนบทของแพทย์ในโครงการผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบท (Collaborative Project to Increase Rural Doctors: CPIRD) โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิจากกองการเจ้าหน้าที่ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขในปี 2554 ...
    • การคงอยู่ในชนบทและในราชการของแพทย์ภายหลังการเพิ่มค่าตอบแทนในการปฏิบัติงานที่ชนบท 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; สัญญา ศรีรัตนะ; กฤษฎา ว่องวิญญู; จิราภรณ์ หลาบคำ; วรางคณา วรราช; Nonglak Pagaiya; Sanya Sriratana; Krisada Wongwinyou; Chiraporn Lapkom; Warangkhana Worarat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของการคงอยู่ในชนบทของแพทย์ภายหลังการเพิ่มเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่ายในปี 2552 เก็บข้อมูลทุติยภูมิจากกระทรวงสาธารณสุข เพื่อให้ทราบรูปแบบการเคลื่อนย้ายของแพทย์ในระหว่างปี 2544-2554 ...
    • การคาดการณ์ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพ: ฐานที่สำคัญในการวางแผนกำลังคน 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; Nonglak Pagaiya (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      การวางแผนกำลังคนด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพต้องอาศัยข้อมูลเชิงประจักษ์สำหรับรองรับการตัดสินใจ ดังนั้นการคาดการณ์ความต้องการกำลังคนที่สอดคล้องกับระบบสุขภาพที่พึงประสงค์จึงเป็นสิ่งจำเป็น เพื่อจะนำไปสู่การวิเคราะห์ปัญหาความไ ...
    • การคาดการณ์ความต้องการและการวางแผนกำลังคนสำหรับระบบบริการทางการแพทย์ฉุกเฉิน 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; พุดตาน พันธุเณร; เสกสรรค์ มานวิโรจน์; อติพันธ์ สุวัฒน์เมฆินทร์; อุ่นใจ เครือสถิตย์; ประวีณ นราเมธกุล; วัลภา ภาวะดี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557)
      การเปลี่ยนแปลงบริบทของประเทศและนโยบายต่าง ๆ ส่งผลกระทบต่อกำลังคนของระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงด้านประชากรและระบาดวิทยา ส่งผลให้การเจ็บป่วยด้านอุบัติเหตุและฉุกเฉินเพิ่มมากขึ้น นอกจากนั้นยังมีนโยบายและแผนที่เกี่ยวข้อง ...
    • การวิเคราะห์ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพสำหรับระบบบริการระดับทุติยภูมิของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2569 

      พุดตาน พันธุเณร; Pudtan Phanthunane; อดุลย์ บำรุง; Adun Bamrung; ธิดาพร จิรวัฒนะไพศาล; Thidaporn Jirawattanapisal; นงลักษณ์ พะไกยะ; Nonglak Pagaiya; บุญเรือง ขาวนวล; Boonruang Khaonuan; ฑิณกร โนรี; Thinakorn Noree (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      การศึกษาครั้งนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการวางแผนกำลังคนด้านสุขภาพของประเทศไทย วัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อวิเคราะห์และพยากรณ์ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพในการให้บริการทางสุขภาพระดับทุติยภูมิ โดยการวิเคราะห์ก ...
    • การศึกษาการวางแผนความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพระดับจังหวัด 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; สัญญา ศรีรัตนะ (สำนักงานวิจัยและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ, 2552)
      ผลการศึกษา ปัจจัยหลักที่เป็นข้อมูลพื้นฐานประกอบการวิเคราะห์ความต้องการกำลังคนได้แก่ข้อมูลประชากรและระบาดวิทยา โดยเห็นชัดว่าประชากรผู้สูงอายุมีสัดส่วนที่สูงขึ้น นอกนั้นสัดส่วนของการเจ็บป่วยเรื้อรังสูงตามมาด้วย ...
    • การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายในการจัดการกำลังคนด้านสุขภาพเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุในอนาคต 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; Nonglak Pagaiya; ศิริพันธุ์ สาสัตย์; Siriphan Sasat; วาสินี วิเศษฤทธิ์; Wasinee Wisestrith (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)
      การเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ประชากรสูงอายุในสังคมไทย ประกอบกับปัญหาโรคเรื้อรังจะส่งผลทำให้ผู้สูงอายุอยู่ในภาวะพึ่งพาและต้องการการดูแลมีจำนวนมากขึ้น การจัดระบบบริการการดูแลระยะยาวเพื่อสามารถให้บริการที่ครอบคลุมทุกมิติด้านสุขภาพและสังคม ...
    • ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพสำหรับระบบบริการปฐมภูมิในปี พ.ศ. 2569 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; Nonglak Pagaiya; บุญเรือง ขาวนวล; Boonruang Khaonuan; พุดตาน พันธุเณร; Pudtan Phanthunane; อดุลย์ บำรุง; Adun Bamrung; ธิดาพร จิรวัฒนะไพศาล; Thidaporn Jirawattanapisal (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      การศึกษานี้เป็นการคาดการณ์ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพสำหรับระบบบริการระดับปฐมภูมิในอนาคต (พ.ศ. 2569) ซึ่งครอบคลุมทั้งภาครัฐและเอกชน และครอบคลุมบริการ (1) การรักษาเบื้องต้นและการแพทย์แผนไทย (2) การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค ...
    • ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพเพื่อรองรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในอนาคต 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; Nonglak Pagaiya; ศิริพันธุ์ สาสัตย์; Siriphan Sasat; วาสินี วิเศษฤทธิ์; Wasinee Wisesrith (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพเพื่อรองรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงของประเทศไทย วิธีการศึกษาประกอบด้วย 2 ขั้นตอน ได้แก่ การเก็บข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิและการคาดการณ์ความต้องการกำลังคน ...
    • ความต้องการกำลังคนวิชาชีพสาธารณสุขของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2569 

      บุญเรือง ขาวนวล; Boonruang Khaonuan; นงลักษณ์ พะไกยะ; Nonglak Pagaiya; ประยูร ฟองสถิตย์กุล; Prayoon Fongsatitkul; สถิรกร พงศ์พานิช; Sathirakorn Pongpanich; วิทยา อยู่สุข; Wittaya Yoosuk; ขวัญใจ อำนาจสัตย์ซื่อ; Kwanjai Amnatsatsue; ทัศนีย์ ศิลาวรรณ; Tasanee Silawan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      ประเทศไทย นอกจากจะต้องประสบกับปัญหาในด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง ที่นำไปสู่ปัญหาความเหลื่อมล้ำแล้ว ระบบสุขภาพก็กำลังได้รับผลกระทบอันเนื่องมาจากปัจจัยต่างๆ ได้แก่ โครงสร้างประชากรที่กลายเป็นสังคมผู้สูงอายุมากขึ้นเรื่อยๆ ...
    • ความมั่นใจในความรู้ ทักษะและความสามารถทางการแพทย์และสาธารณสุขของบัณฑิตแพทย์: การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจและการถดถอยพหุคูณ 

      ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; ชมพูนุท ไทยจินดา; นงลักษณ์ พะไกยะ; ธัญธิตา วิสัยจร; นพคุณ ธรรมธัชอารี; วิชช์ เกษมทรัพย์; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Rapeepong Suphanchaimat; Thitikorn Topothai; Chompoonut Thaichinda; Nonglak Pagaiya; Thunthita Wisaijohn; Noppakun Thammathacharee; Vijj Kasemsup; Weerasak Puthasri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-12)
      การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความมั่นใจด้านความรู้ ทักษะและความสามารถทางการแพทย์และสาธารณสุขของบัณฑิตแพทย์และหาความสัมพันธ์ระหว่างความมั่นใจดังกล่าวกับการเป็นแพทย์ในโครงการผลิตแพทย์เพื่อชาวชนบท (แพทย์เพื่อชนบท) ...
    • จะดึงดูดแพทย์จบใหม่ไปทำงานที่ชนบทได้อย่างไร: การใช้เครื่องมือทดลองการตัดสินใจเลือกงาน 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; ฑิณกร โนรี; สัญญา ศรีรัตนะ; อภิชาติ จันทนิสร์; Nonglak Pagaiya; Viroj Tangcharoensathien; Tinnakorn Noree; Sanya Sriratana; Apichart Chantanitr (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      ปัญหาการขาดแคลนแพทย์ในชนบทนั้นต้องการการแก้ไขอย่างเร่งด่วน แม้ปัจจุบันมีแพทย์เข้าไปทำงานในชนบททุกปี แต่อัตราแพทย์ลาออกจากชนบทมีประมาณ 11% จึงจำเป็นที่จะต้องมีการค้นหาวิธีที่จะดึงดูดและธำรงรักษาแพทย์ในพื้นที่ชนบท ...
    • ชุดสิทธิประโยชน์การจ้างงานลูกจ้างชั่วคราวเพื่อจูงใจบุคลากรในระบบบริการสุขภาพภาครัฐ 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; อภิชาติ จันทนิสร์; สัญญา ศรีรัตนะ; กฤษฎา ว่องวิญญู; จิราภรณ์ หลาบคำ; วรางคณา วรราช; Nonglak Pagaiya; Apichart Chantanitr; Sanya Sriratana; Krisada Wongwinyou; Chiraporn Lapkom; Warangkhana Worarat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      สถานการณ์ความต้องการบริการสุขภาพที่เพิ่มขึ้นเป็นเหตุให้ระบบบริการสุขภาพมีความต้องการกำลังคนมากขึ้น นโยบายการลดกำลังคนภาครัฐส่งผลให้ระบบบริการของกระทรวงสาธารณสุขเผชิญปัญหาการขาดแรงจูงใจกำลังคนเข้าสู่ระบบสุขภาพ การศึกษานี้ ...
    • ทัศนคติและการเลือกงานในชนบทของแพทย์จบใหม่ 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; วิชช์ เกษมทรัพย์; อภิชาติ จันทนิสร์; สัญญา ศรีรัตนะ; กฤษดา ว่องวิญญู; Nonglak Pagaiya; Viroj Tangcharoensathien; Vijj Kasemsup; Apichart Chantanisr; Sanya Sriratana; Krisada Wongwinyou (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      สถานการณ์การขาดแคลนแพทย์ เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นต่อเนื่องตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะการขาดแคลนแพทย์ในชนบท งานวิจัยนี้จึงศึกษาทัศนคติและปัจจัยที่ทำให้แพทย์เลือกงานในชนบท โดยการเก็บข้อมูลของบัณฑิตแพทย์กลุ่มที่สำเร็จการศึกษาในปี ...
    • ผลกระทบของการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล สู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อระบบสุขภาพปฐมภูมิ : กรณีศึกษานโยบายสามหมอ ใน 5 จังหวัด 

      ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; ฑิณกร โนรี; Thinakorn Noree; นงลักษณ์ พะไกยะ; Nonglak Pagaiya (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-01)
      การศึกษานี้จัดทำขึ้นเพื่อถอดบทเรียนกระบวนการและผลที่เกิดขึ้นจากการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ไปยังองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) และเพื่อพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายในการหนุนเสริมประสิทธิภาพของกระบวนการถ่ายโอ ...
      Tags:
    • ระบบการดูแลระยะยาวและกำลังคนในการดูแลผู้สูงอายุ : ทิศทางประเทศไทย 

      ศศิพัฒน์ ยอดเพชร; ศิริพันธุ์ สาสัตย์; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; ลัดดา ดำริการเลิศ; อุบล หลิมสกุล; นงลักษณ์ พะไกยะ (แผนงานวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุ มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย, 2552-01)
      สังคมไทยได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุแล้วอย่างรวดเร็ว เนื่องจากมีสัดส่วนของประชากรผู้สูงอายุ (อายุมากว่า 60 ปี) ในปัจจุบันมากกว่าร้อยละ 10 และมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นตลอดเวลา จึงเป็นสิ่งสำคัญที่สังคมไทยต้องเริ่มมีการเตรียมค ...
    • แผนยุทธศาสตร์ทศวรรษกำลังคนด้านสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550-2559 

      อำพล จินดาวัฒนะ; ฑิณกร โนรี; นงลักษณ์ พะไกยะ; ณิชากร ศิริกนกวิไล (สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุขสำนักงานวิจัยและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ, 2552-11)
      ประเทศไทยมีความพยายามผลักดันการดำเนินงานพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพมายาวนาน จนกระทั่งถึงปัจจุบันพบว่าประเด็นกำลังคนด้านสุขภาพมีความยุ่งยากและสลับซับซ้อนมากยิ่งขึ้น เพื่อให้เกิดการแก้ปัญหาอย่างบูรณาการและยั่งยืน กระทรวงสาธาร ...