Now showing items 1-6 of 6

    • การศึกษาการอุดหนุนข้ามระหว่างกองทุนสุขภาพในโรงพยาบาล : กรณีศึกษาโรงพยาบาลรัฐในประเทศไทย 

      บวรศม ลีระพันธ์; ภัททา เกิดเรือง; อุทุมพร วงษ์ศิลป์; Borwornsom Leerapan; Phatta Kirdruang; Utoomporn Wongsin (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก.), 2556-09)
      การจัดการด้านการคลังสุขภาพเป็นหนึ่งในองค์ประกอบพื้นฐานสำคัญของระบบสุขภาพ โดยเฉพาะระบบสุขภาพของประเทศไทย ซึ่งมีการจัดการด้านการคลังสุขภาพผ่านกองทุนสุขภาพจำนวนหลายกองทุน ดังนั้น ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการของโรงพยาบาลต่อน ...
    • การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรทางการแพทย์ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขต่อค่าตอบแทนที่ได้รับ 

      ภัททา เกิดเรือง; สมชาย สุขสิริเสรีกุล (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก.) สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-09)
      การคงอยู่ของกำลังแรงงานด้านสุขภาพ (health workforce) และการกระจายบุคลากรทางการแพทย์ให้สมดุลระหว่างพื้นที่ (โดยเฉพาะระหว่างพื้นที่เมืองและพื้นที่ชนบท) เป็นปัญหาเรื้อรังที่ประเทศไทยและอีกหลายประเทศทั่วโลกยังไม่สามารถแก้ไขได้ ...
    • การศึกษาทางเลือกเชิงนโยบายในการกระจายแพทย์ไปยังหน่วยบริการสุขภาพในพื้นที่ขาดแคลนหรือห่างไกลในชนบท 

      กฤษดา แสวงดี; Krisada Sawaengdee; ภัททา เกิดเรือง; Phatta Kirdruang; พิมพ์เพชร สุขุมาลไพบูลย์; Pimpet Sukumalpaiboon; ชุติมา ศิริภานุมาศ; Chutima Siripanumas; ทิวาวรรณ ปิยกุลมาลา; Tiwawan Piyakulmala; ฑิณกร โนรี; Thinakorn Noree (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01)
      เป็นเวลากว่า 5 ทศวรรษที่รัฐบาลดำเนินนโยบายเพิ่มการผลิตและการทำสัญญาบังคับชดใช้ทุนกับแพทย์ที่จบจากสถาบันของรัฐ แม้ว่าแพทย์ในประเทศไทยจะเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง แต่ขาดนโยบายควบคุมการเคลื่อนย้ายแพทย์ที่ได้ผล เป็นเหตุให้มี ...
    • การศึกษาแนวทางการจัดสวัสดิการสังคมที่เหมาะสมของประเทศไทย 

      ถาวร สกุลพาณิชย์; พัฒนาวิไล อินใหม; อรรวรรณ ประสิทธิ์ศิริผล; บุณยวีร์ เอื้อศิริวรรณ; เอื้อมพร พิชัยสนิธ; ภัททา เกิดเรือง; ครรชิต สุขนาค; ขวัญพลอย ชีช้าง (ส่วนงานสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)
      ประเทศไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ เริ่มมีการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ช้าลง มีค่าใช้จ่ายด้านสวัสดิการมากขึ้น จึงจำเป็นต้องมีการศึกษาเพื่อหาแนวทางในการจัดสวัสดิการสังคมที่เหมาะสม สำหรับบริบทของประเทศที่เปลี่ยนไป การศึกษาครั้งนี้ ...
    • การสำรวจพฤติกรรมการใช้กัญชาและสารเสพติดในประชากรไทย ผลกระทบจากกัญชาต่อความเป็นธรรมทางสุขภาพ และต้นทุนการเจ็บป่วยจากการใช้กัญชา 

      รัศมน กัลยาศิริ; Rasmon Kalayasiri; สุริยัน บุญแท้; Suriyan Boonthae; เกื้อการุณย์ ครูส่ง; Kuakarun Krusong; ภัททา เกิดเรือง; Phatta Kirdruang; ศยามล เจริญรัตน์; Sayamol Charoenratana (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-10-09)
      การนำพืชกัญชาออกจากบัญชียาเสพติดให้โทษประเภท 5 ในปี พ.ศ. 2565 โดยมีการอนุญาตให้ปลูก จำหน่าย และทำให้เกิดการใช้กัญชาได้ในประเทศไทยนอกหนือจากการใช้ทางการแพทย์ จำเป็นต้องมีการประเมินสถานการณ์อย่างใกล้ชิดและต่อเนื่องถึงจำนวน ...
    • การอุดหนุนข้ามระหว่างกองทุนสุขภาพในระดับโรงพยาบาล: กรณีศึกษาโรงพยาบาลรัฐในประเทศไทย 

      บวรศม ลีระพันธ์; Borwornsom Leerapan; ภัททา เกิดเรือง; Phatta Kirdruang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-06)
      วัตถุประสงค์: เพื่อค้นหาหลักฐานเชิงประจักษ์ในการตอบสนองของผู้บริหารโรงพยาบาลรัฐของประเทศไทยต่อความแตกต่างของนโยบายการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลของแต่ละกองทุนสุขภาพ และเพื่อทำความเข้าใจปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับแนวคิดการอุดหนุนข้ ...