Browsing by Author "วิชัย โชควิวัฒน"
Now showing items 1-20 of 32
-
10 ชีวิต 10 แรงบันดาลใจ
วิชัย โชควิวัฒน (สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ (สสพ.), 2559-03)หนังสือเล่มนี้เป็นเรื่องราวของบุคคล 10 คน ทั้งเทศและไทย เป็นชาวต่างประเทศ 7 คน คนไทย 3 คน ทุกคนล้วนเผชิญความยากลำบาก ด้วยข้อจำกัดของความพิการทางกายหรือจิตใจ แต่ทุกคนสามารถฟันฝ่าจน “รอดปากเหยี่ยวปากกา” และประสบความสำเร็จ ... -
กฏนูเรมเบิร์ก
วิชัย โชควิวัฒน (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2552-08)กฏนูเรมเบิร์กเป็นหลักเกณฑ์จริยธรรมสากลสำหรับการวิจัยในมนุษย์ที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง โดยเป็นกฎเกณฑ์ที่เขียนขึ้นเพื่อป้องกันมิให้มีการละเมิดจริยธรรม เช่นที่เกิดขึ้นในกองทัพนาซี กฎดังกล่าวเขียนขึ้นขณะที่ทั่วโลกเฝ้า ... -
การจัดตั้งคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ ในโรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป
วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-06) -
การทบทวนสถานการณ์ปัจจุบันของจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ : การศึกษากลไกการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ในกระทรวงสาธารณสุข (ส่วนกลาง)
วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลไกการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์คือ คณะกรรมการการศึกษาวิจัยในคนในหน่วยงานส่วนกลางของกระทรวงสาธารณสุข โดยการทบทวนเอกสาร ใช้แบบสอบถาม และการสัมภาษณ์เจาะลึก ผลการศึกษาพบว่า ปัจจุบันส่วนราชการต่างๆ ... -
การพัฒนาระบบกฏหมายเพื่อสนับสนุนการพัฒนากำลังคนด้านการแพทย์แผนไทย
วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนและจัดทำข้อเสนอแนะในการพัฒนาระบบกฎหมายเพื่อสนับสนุนการพัฒนากำลังคนด้านการแพทย์แผนไทย การศึกษานี้จะศึกษาระบบกฎหมายโดยครอบคลุมตั้งแต่กระบวนการออกกฎหมาย กฎหมายที่มีอยู่ และการใช้กฎหมาย ... -
การศึกษาว่าด้วยมิติทั้ง 4 ของสุขภาพ
วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)มีความพยายามเสนอให้เพิ่ม “สุขภาวะทางวิญญาณ” เข้าในคำจำกัดความคำว่าสุขภาพขององค์การอนามัยโลกอย่างเป็นทางการ มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2526 โดยสมาชิกจากประเทศในภูมิภาคเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออก ข้อเสนอดังกล่าวมีทั้งผู้สนับสนุนและคัดค้าน ... -
ข้อพิจารณาด้านจริยธรรมในการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนางานประจำ
วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-10)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนประเด็นเรื่องการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนางานประจำ ว่าจะต้องดำเนินการอย่างไร จึงจะถูกต้องตามหลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ โดยมีคำถามสำคัญว่าโครงการเหล่านี้จะต้องเสนอให้คณะกรรมการจริยธรรมการวิจ ... -
ข้อพิจารณาด้านจริยธรรมในการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนางานประจำ
วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนประเด็นเรื่องการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนางานประจำ ว่าจะต้องดำเนินการอย่างไรจึงจะถูกต้องตามหลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ โดยมีคำถามสำคัญคือ โครงการเหล่านี้จะต้องเสนอให้คณะกรรมการจริยธรรมการวิจ ... -
ข้อเสนอการปฏิรูประบบควบคุมและป้องกันโรค
วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา วิเคราะห์ และจัดทำข้อเสนอกรอบความคิดในการปฏิรูประบบการควบคุมและป้องกันโรคในประเด็นต่างๆ ได้แก่ 1) สถานการณ์และแนวโน้มระบาดวิทยาของโรค และการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่มีผลกระทบต่อระบบการควบ ... -
ความเป็นมา หลักจริยธรรมการวิจัยในคน และ guidelines ต่างๆ
วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2556-01-16)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการฝึกอบรมคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยระดับเขตและจังหวัด โดยความร่วมมือระหว่างสำนักผู้ตรวจราชการประจำเขตตรวจราชการที่ 4 และสถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ วันที่ 16 -17 ... -
คำปราศรัยของประธานาธิบดีคลินตันในการปฏิรูประบบบริการสาธารณสุข
วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (2537)คำปราศรัยของประธานาธิบดีคลินตัน ในการปฏิรูประบบบริการสาธารณสุขของสหรัฐอเมริกา เสนอต่อที่ประชุมร่วมของรัฐสภา นายแพทย์ใหญ่สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข แปลและเรียบเรียง จากเอกสารการถอดเทปคำปราศรัยของประธานาธิบดีคลินตัน ... -
คำแนะนำแนวทางปฏิบัติ : ข้อมูลที่จำเป็นเพื่อสนับสนุนการทดสอบทางคลินิกของผลิตภัณฑ์สมุนไพร
วิชัย โชควิวัฒน; ชยันต์ พิเชียรสุนทร (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2554-03) -
จดหมายเหตุการใช้สิทธิกับสิทธิบัตรยาของประเทศไทย
วิชัย โชควิวัฒน (แผนงานพัฒนาศักยภาพและสมรรถนะด้านการสร้างเสริมสุขภาพของไทย, 2551-03)นับตั้งแต่กระทรวงสาธารณสุขภายใต้การนำของ นายแพทย์มงคง ณ สงขลา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และทีมงาน ได้ตัดสินใจทางนโยบายที่สำคัญตั้งแต่เข้ารับตำแหน่งได้ไม่นานในการใช้สิทธิกับสิทธิบัตรยา เพื่อเปิดประตูให้สามารถจัดหายาท ... -
จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ (2)
สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. สำนักพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์; Health Systems Research Institute. Institute for the Development of Human Research Protections (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)หลังจากหนังสือ "จริยธรรมการวิจัยในนุษย์" เล่มแรกตีพิมพ์เผยแพร่เมื่อเดือนสิงหาคม 2560 ผู้เขียนได้แปลเอกสารสำคัญที่เกี่ยวข้องกับจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์อีก 3 ฉบับ ได้แก่ 1) แนวทางจริยธรรมสากลสำหรับการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับส ... -
ชุดความรู้ที่สัมพันธ์กับมิติจิตวิญญาณ (Spiritual dimension) ที่เกี่ยวข้องกับทางสุขภาพ
วิชัย โชควิวัฒน (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)มีความพยายามเสนอให้เพิ่ม “สุขภาวะทางวิญญาณ” เข้าในคำจำกัดความคำว่าสุขภาพขององค์การอนามัยโลกอย่างเป็นทางการ มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2526 โดยสมาชิกจากประเทศในภูมิภาคเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออก ข้อเสนอดังกล่าวมีทั้งผู้สนับสนุนและคัดค้าน ... -
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย
กระทรวงสาธารณสุข. กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก; Ministry of Public Health. Department for Development of Thai Traditional and Alternative Medicine (กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก, 2549)ปัจจุบันการแพทย์แผนจีนและการแพทย์ทางเลือกได้เข้ามาผสมผสานในการรักษาโรคในบ้านเราอย่างได้ผล แต่ที่ผ่านมายังขาดตำราดีๆ ที่เกี่ยวกับยาจีนที่ใช้ในประเทศไทย ดังนั้น กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกจึงได้จัดทำหนังสือ ... -
บุหรี่และสุรา : ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ ระหว่างครัวเรือนไทยที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน
วิชัย โชควิวัฒน; สุพล ลิมวัฒนานนท์; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; ภูษิต ประคองสาย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2550)การศึกษาภาระโรคในประเทศไทยเปรียบเทียบระหว่าง พ.ศ. 2542 กับ 2547 พบว่าใน พ.ศ. 2547 ภาระโรคที่เกิดจากการบริโภคแอลกอฮอล์และบุหรี่เพิ่มมากขึ้น และเป็นปัจจัยเสี่ยงอันดับสอง และสาม รองจากการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย ... -
ปฏิญญาเฮลซิงกิของแพทยสมาคมโลก(ค.ศ.2000)หลักการจริยธรรมสำหรับการศึกษาวิจัยทางการแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์
วิชัย โชควิวัฒน; สุชาติ จองประเสริฐ (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2551-03)ปฏิญญาเฮลซิงกิเป็นหลักเกณฑ์จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางที่สุดทั่วโลก นับตั้งแต่ประกาศครั้งแรกโดยสมัชชาของแพทยสภาคมโลกที่กรุงเฮลซิงกิ ประเทศฟินแลนด์ เมื่อปี พ.ศ. 2507 ปฏิญญาดังกล่างมีการปรับปรุ ... -
ปาฐกถาพิเศษ เรื่อง ระบบสุขภาพไทย : มุมมองของราษฎรเต็มขั้น
วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03) -
มาตรฐานและแนวทางการดำเนินการสำหรับการทบทวนพิจารณาจริยธรรมการวิจัยทางสุขภาพที่กระทำในมนุษย์
วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2556)เอกสารนี้จัดทำขึ้นสำหรับบุคคลและองค์กร ซึ่งเกี่ยวข้องกับการศึกษาวิจัยทางสุขภาพที่กระทำในมนุษย์ ได้แก่ การศึกษาวิจัยทางชีวเวชศาสตร์, พฤติกรรมศาสตร์, สังคมศาสตร์ และการศึกษาวิจัยทางระบาดวิทยา เอกสารนี้จัดทำขึ้นเพื่อให้คำแน ...