Browsing by Author "วิภาสิริ บุญชูช่วย"
Now showing items 1-4 of 4
-
การจัดการความรู้และสังเคราะห์แนวทางปฏิบัติของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล:ประสบการณ์การทำงานสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ
วัชรา ริ้วไพบูลย์; ปัทมา ศิริเวช; พรรณพิมล วิปุลากร; ชาติชาย มุกสง; แพรว เอี่ยมน้อย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-12)สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ให้ความสำคัญกับการวิจัยและพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ โดยเป็นแผนงานวิจัยหนึ่งที่ให้การสนับสนุนมาอย่างต่อเนื่อง มีสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (สพช.) เป็นกลไกสำคัญ เมื่อรัฐบาลมีนโยบายในกา ... -
การพัฒนาตัวแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อสร้างเสริมทักษะชีวิตของวัยรุ่นตอนต้นที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
ปริญญา สิริอัตตะกุล; Parinya Siriattakul; ศศิธร จำนงค์จันทร์; Sasithron Chamnongchan; วิภาสิริ บุญชูช่วย; Wipasiri Boonchuchuay; สุภาภรณ์ พิมเงิน (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-08)การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา (research and development) โดยใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการ แบบมีส่วนร่วม (participatory action research: PAR) และใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงผสม (mixed research) โดยมีวัตถุประสงค์ในการวิจัยเพื่อ ... -
ถอดบทเรียนกระบวนการเรียนรู้จากงานอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างเครือข่ายและความเข้มแข็งด้านกำลังคนในการพัฒนาระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์สำหรับคนตาบอด
แพรว เอี่ยมน้อย; แก้วตา วิศวบำรุงชัย; จิรนันท์ ปุริมาตย์; ภัทรพงษ์ มีสุข; วิภาสิริ บุญชูช่วย; อัปสร จินดาพงษ์; เบญจางค์ สุขจำนงค์ (สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-05)วันนี้ กลับมาจากการทำ workshop ครูฝึกคนตาบอด เป็นงานสามวันครึ่ง ที่จัดกันแบบเต็มเม็ดเต็มหน่วย คือมีภาคกลางคืนทั้งสามวัน สำหรับงานนี้ โดยภาพรวมแล้วก็อาจถือเป็นงานที่ดี น่าถอดบทเรียนอีกงาน แม้หากจะเปรียบเทียบกับงานครั้งอื่นๆ ... -
รายงานการติดตามประเมินผลเพื่อการพัฒนาและการนำสู่การปฏิบัติแผนปฏิบัติการพัฒนาระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ด้านการทำความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมและการเคลื่อนไหว (Orientation and Mobility Training) สำหรับคนตาบอด ปี 2553-2558
วัชรา ริ้วไพบูลย์; แพรว เอี่ยมน้อย; แก้วตา วิศวบำรุงชัย; จิรนันท์ ปุริมาตย์; ภัทรพงษ์ มีสุข; วิภาสิริ บุญชูช่วย; อัปสร จินดาพงษ์; เบญจางค์ สุขจำนงค์; ภัทร กิตติมานนท์ (สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-05)เจตนารมณ์ดั้งเดิมซึ่งเป็นที่มาของแผนฯ ที่จะประเมินนี้ เริ่มต้นจากการทำงานร่วมกันของสถาบันทางวิชาการและภาคีเครือข่ายองค์กรคนตาบอด ที่ชี้ว่า บริการฟื้นฟูสมรรถภาพคนตาบอดที่เรียกว่า Orientation and Mobility training ...