Browsing by Author "วิษณุ ธรรมลิขิตกุล"
Now showing items 1-18 of 18
-
การกระจายและการใช้ยาปฏิชีวนะของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คลินิก และร้านยา
นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; Nithima Sumpradit; เสาวลักษณ์ ฮุนนางกูร; Saowalak Hunnangkul; ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsai; วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)ความไม่สอดคล้องระหว่างรายการยาปฏิชีวนะที่มีใช้ในหน่วยบริการ กับศักยภาพการให้บริการของหน่วยบริการ อาจทำให้เกิดการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตุผล อันจะส่งผลต่อการเกิดเชื้อดื้อยา การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการกระจายแล ... -
การควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย
วิษณุ ธรรมลิขิตกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01-25)โครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพ วิจัยประเด็นวิชาการ เศรษฐกิจ และสังคม เกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพ ... -
การดำเนินงานชุดโครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทยตามแผนปฏิบัติการการดื้อยาต้านจุลชีพขององค์การอนามัยโลก
วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul; ภิญโญ รัตนาอัมพวัลย์; Pinyo Rattanaumpawan; อธิรัฐ บุญญาศิริ; Adhiratha Boonyasiri; รุจิภาส สิริจตุภัทร; Rujipas Sirijatuphat; ศศิ เจริญพจน์; Sasi Jaroenpoj (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)โครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทยได้ดำเนินการ 10 กิจกรรม ในการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพตามแผนปฏิบัติการการดื้อยาต้านจุลชีพขององค์การอนามัยโลก ได้แก่ 1) ประมาณการขนาดปัญหาการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ... -
การดื้อยาต้านจุลชีพ : ความสำคัญต่อระบบสุขภาพและแนวทางการควบคุมและป้องกัน
วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09) -
การวิจัยและพัฒนาการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย
วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-10-05)โครงการวิจัยและพัฒนาการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทยมีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาระบบพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพ วิจัยและพัฒนาประเด็น วิชาการ เศรษฐกิจ และสังคมเกี่ยวกับการ ... -
การวิจัยและพัฒนาการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ระยะที่ 2 : บทความวิชาการ
วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)รวมบทความวิชาการ ภายใต้ชุดโครงการวิจัยและพัฒนาการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ระยะที่ 2 -
การวิจัยและพัฒนาการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ระยะที่ 3 : บทความวิชาการ
วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)บทความวิชาการ ภายใต้ชุดโครงการวิจัยและพัฒนาการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ระยะที่ 3 -
ความชุกของเชื้อแบคทีเรียดื้อยาต้านจุลชีพในสุนัขที่อาศัยอยู่ในเขตภาคกลางของประเทศ
สุขฤทัย บุญมาไสว; Sookruetai Boonmasawai; นรสุทธิ์ บางภูมิ; Norasuthi Bangphoomi; ศิวะพงษ์ สังข์ประดิษฐ์; Sivapong Sungpradit; นรัชพัณญ์ ปะทิ; Naratchaphan Pati; ธีระวิทย์ ตั้งก่อสกุล; Teerawit Tangkoskul; วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)มนุษย์และสุนัขที่เป็นสัตว์เลี้ยงมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด การสัมผัสโดยตรงระหว่างมนุษย์และสุนัขนั้นอาจเป็นปัจจัยที่สำคัญในการถ่ายทอดเชื้อแบคทีเรียก่อโรคระหว่างกันได้ กลุ่มสัตว์เลี้ยงจึงอาจเป็นปัจจัยที่เกี่ยว ... -
ความรู้และความตระหนักเกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยมหิดล ปีการศึกษา 2554
กานนท์ อังคณาวิศัลย์; พศวัต พึ่งเกียรติไพโรจน์; นวลนิตย์ แปงดี; สคณรัช ทองคำคูณ; กัลยรัตน์ วิไลวงศ์เสถียร; พิรญาณ์ เพียรกลิ่นธรรม; สุภาพรรณ ชุมมุง; กมลชนก ดีศรีศักดิ์; ภาณุพงศ์ หาญเจริญพิพัฒน์; ชุติกาญจน์ พูลเพิ่ม; อ่อนอุษา ขันธรักษา; พงศ์ธนยศ กิรติสินธุ์; วรทัต หงส์วาณิชวงศ์; เพชรณเธียร จุลเลศ; ชิดชนก อุดมธนเดชน์; ภวินตรา เจริญเวช; อภิชญา พร้อมพวก; วรางคณา ชิดช่วงชัย; วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Kanont Angkanavisan; Possawat Peungkiatpairote; Nuannit Pangdee; Skonrach Thongkumkoon; Kalyarat Wilaiwongsathien; Piraya Pienklintham; Suphapan Chummung; Kamolchanok Deesrisak; Phanuphong Hancharoenphiphat; Chutikarn Poolpoem; Onusa Khantharaksa; Pongtanayos Keeratisin; Woratat Hongwanichwong; Petchnatien Julles; Chidchanok Udomtanadech; Pawintar Jaroenwet; Aphichaya Phromphauk; Warungkana Chidchuangchai; Visanu Thamlikitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)ภูมิหลัง: ปัจจัยสำคัญประการหนึ่งที่สัมพันธ์กับการใช้ยาปฏิชีวนะมากเกินความจำเป็นคือการขาดความรู้และความตระหนักเกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบและให้ความรู้และสร้างความตระหนักเกี่ยว ... -
คำแนะนำสำหรับผู้มีเชื้อดื้อยา
วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (โครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย, 2558-06)เอกสารแนะนำสำหรับผู้มีเชื้อดื้อยา -
คู่มือการควบคุมและป้องกันแบคทีเรียดื้อยาต้านจุลชีพในโรงพยาบาล
วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (โครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย, 2558-06)มนุษย์มียาต้านจุลชีพขนานแรกๆ เมื่อประมาณ 70 ปีก่อน ในครั้งนั้น ยาต้านจุลชีพ ได้รับการขนานนามว่า “ยาปาฏิหาริย์” (miracle drug หรือ wonder drug) เนื่องจากยานี้ทำให้มนุษย์จำนวนมากรอดตายจากการติดเชื้อ องค์การวิชาชีพหลายแห่งเ ... -
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียด้วยยาปฏิชีวนะที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
Visanu Thamlikitkul; วิษณุ ธรรมลิขิตกุล (โครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย, 2558-05)มนุษย์มียาต้านจุลชีพขนานแรกๆ เมื่อประมาณ 70 ปีก่อน ในครั้งนั้น ยาต้านจุลชีพ ได้รับการขนานนามว่า “ยาปาฏิหาริย์” (miracle drug หรือ wonder drug) เนื่องจากยานี้ทำให้มนุษย์จำนวนมากรอดตายจากการติดเชื้อ องค์การวิชาชีพหลายแห่งเ ... -
ผลกระทบด้านสุขภาพและเศรษฐศาสตร์จากการติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย : การศึกษาเบื้องต้น
ภาณุมาศ ภูมาศ; วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; ภูษิต ประคองสาย; ตวงรัตน์ โพธะ; อาทร ริ้วไพบูลย์; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Panumart Phumart; Tuangrat Phodha; Visanu Thamlikitkul; Arthorn Riewpaiboon; Phusit Prakongsai; Supon Limwattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)การศึกษานี้ประเมินผลกระทบของการติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพต่อสุขภาพและความสูญเสียทางเศรษฐกิจของประเทศไทยด้วยมุมมองของสังคม โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิของผู้ป่วยที่รับไว้รักษาในโรงพยาบาลทุกระดับและข้อมูลการติดเชื้อในโรงพยาบาล 1,023 ... -
มาตรการควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล และการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล ในโรงพยาบาลรัฐและเอกชน ในประเทศไทย
ศิริตรี สุทธจิตต์; Siritree Suttajit; นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; Nithima Sumpradit; เสาวลักษณ์ ฮุนนางกูร; Saowalak Hunnangkul; ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsai; วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)สถานการณ์เชื้อแบคทีเรียดื้อยามีแนวโน้มสูงขึ้นในโรงพยาบาล การมีมาตรการควบคุมโรคติดเชื้อ (Hospital Infection Control; IC) และการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล (Antimicrobial Stewardship Programs; ASP) จึงมีความสำคัญ ... -
หยุดใช้ยาปฏิชีวนะเมื่ออุจจาระร่วง (ท้องเดิน ท้องเสีย) เฉียบพลัน
วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (โครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย, 2558-06)เอกสารแนะนำการใช้ยารักษาโรคอุจจาระร่วง (ท้องเดิน ท้องเสีย) เฉียบพลัน -
หยุดใช้ยาปฏิชีวนะเมื่อเป็นหวัด
วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (โครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย, 2558-06)เอกสารแนะนำการใช้ยารักษาโรคหวัด -
หยุดใช้ยาปฏิชีวนะเมื่อเป็นแผลสดจากอุบัติเหตุ
วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (โครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย, 2558-06)เอกสารแนะนำการใช้ยารักษาแผลสดจากอุบัติเหตุ -
แผนการดำเนินงานและความคืบหน้าการจัดระบบและการขับเคลื่อนระบบการป้องกัน ควบคุม และแก้ไขการดื้อยาจุลชีพในประเทศไทย
วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)