Now showing items 1-20 of 23

    • การควบคุมราคายา: บทเรียนจากอดีต ข้อค้นพบปัจจุบัน และข้อเสนอสำหรับอนาคต 

      สุพล ลิมวัฒนานนท์; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; พรพิศ ศิลขวุธท์; ภูษิต ประคองสาย; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Supon Limwattananon; Chulaporn Limwattananon; On-anong Waleekhachonloet; Pornpit Silkavute; Phusit Prakongsai; Weerasak Puthasri; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      การควบคุมราคายาเป็นส่วนหนึ่งของการจำกัดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ บทความนี้ทบทวนวิธีควบคุมราคายาในประเทศที่พัฒนาแล้ว วิเคราะห์ประสบการณ์ที่ผ่านมาของประเทศไทยในการควบคุมราคายาภาครัฐ และนำเสนอข้อค้นพบล่าสุดของแผนงานวิจัยราคายา ...
    • การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามมาตรการระบุเหตุผลประกอบการสั่งใช้ยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติ ณ โรงพยาบาลประจำจังหวัดแห่งหนึ่งในประเทศไทย 

      นัฎฐิตา ทารัตน์; Nattita Tharat; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; สุมนต์ สกลไชย; Sumon Sakolchai; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; Onanong Waleekhachonloet; เชิดชัย สุนทรภาส; Cheardchai Soontornpas (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-09)
      ในปีงบประมาณ 2556 กรมบัญชีกลางได้ออกมาตรการให้แพทย์ระบุเหตุผลประกอบการสั่งใช้ยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติ (มาตรการ A-F) เพื่อเพิ่มความสมเหตุผลของการใช้ยาและเพื่อควบคุมค่าใช้จ่ายในกลุ่มผู้ป่วยนอกสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลข้ารา ...
    • การทบทวนกลไก วิธีการ หรือ รูปแบบในการจัดการให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลในสถานบริการสาธารณสุขภาครัฐ 

      สุพล ลิมวัฒนานนท์; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; อัญชลี จิตรักนที (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06-05)
      งานวิจัยชิ้นนี้ได้ทำการทบทวนเอกสารเพื่อศึกษากลไกระดับชาติในการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในภาครัฐที่เคยมีการดำเนินการและที่กำลังดำเนินการในปัจจุบัน ภายใต้ข้อแนะนำขององค์การอนามัยโลก และได้ทำการเก็บ primary data ...
    • การทบทวนระบบควบคุมราคายาในประเทศไทย 

      อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; พรพิศ ศิลขวุธท์; ธนภร ชัยจิต; ขวัญสุดา ชาติโสม; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; On-anong Waleekhachonloet; Thananan Rattanachotphanit; Pornpit Silkavute; Thanaporn Chaijit; Kwansuda Chadsom; Chulaporn Limwattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      รายงานฉบับนี้เป็นการศึกษาสถานการณ์ระบบราคายาในประเทศไทย วิธีการศึกษาที่ใช้คือการสัมภาษณ์ผู้รับผิดชอบโดยตรงในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประชุมรับฟังความคิดเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิและผู้ที่เกี่ยวข้อง ศึกษาเอกสารและทบทวนวรรณกรรม ...
    • การประเมินต้นทุน-ประสิทธิผลของยา Alendronate (ราคายาสามัญ) Risedronate (ราคายาต้นแบบ) ในการป้องกันกระดูกหักในหญิงวัยหมดประจำเดือน 

      ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; บัญญัติ สิทธิธัญกิจ; ชุติมาภรณ์ ไชยสงค์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-05)
      ปัจจุบันในประเทศไทยมียา Alendronate ขนาด 70 มิลลิกรัม แบบรับประทานสัปดาห์ละครั้ง ในรูปแบบยาสามัญ (generic product) ที่มีราคายาลดลงเหลือ 8,467.16 บาทต่อปี และมียา Risedronate ชนิดยาต้นแบบ (original product) ขนาด 35 มิลลิกรัม ...
    • การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังด้านยา 

      สุณี เลิศสินอุดม; อํานวย พฤกษ์ภาคภูมิ; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; ศิริรัตน์ ตันปิชาติ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-07)
    • การวิจัยเพื่อพัฒนานโยบายราคายา 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; สุพล ลิมวัฒนานนท์; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; อารีวรรณ เชี่ยวชาญวัฒนา; สมชาย สุริยไกร; นุศราพร เกษสมบูรณ์; ชะอรสิน สุขศรีวงศ์; เพชรรัตน์ พงษ์เจริญสุข; ศิริพา อุดมอักษร; สุรฉัตร ง้อสุรเชษฐ์; รุ่งเพ็ชร สกุลบำรุงศิลป์; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; นพคุณ ธรรมธัชอารี; อัญชลี จิตรักนที; อรลักษณ์ พัฒนาประทีป (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-08)
      รายงานฉบับนี้ นำเสนอลักษณะการควบคุมราคายาของหน่วยงานในประเทศที่พัฒนาแล้ว และวิเคราะห์ประสบการณ์การควบคุมราคายาในประเทศไทยที่ผ่านมา เพื่อนำไปสู่การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายสำหรับการควบคุมราคายาในอนาคต ข้อเสนอส่วนหนึ่งได ...
    • การศึกษาความเป็นไปได้ในการคำนวณดัชนีราคายา ผู้ให้บริการสุขภาพสำหรับโรงพยาบาลในประเทศไทยจากข้อมูลที่มีอยู่ในปัจจุบันปี 2555 

      สุพล ลิมวัฒนานนท์; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03)
      ระบบการติดตามราคายามี 2 แบบ คือ ระบบการติดตามราคายาที่เน้นการรายงานราคายาแต่ละรายการ หรือตามกลุ่มยาที่สนใจ ซึ่งในประเทศไทยมีการติดตามราคาจัดซื้อยาโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข โดยใช้ระบบการรายงานแบบสมัครใจส่งให้ศูนย์ ...
    • การศึกษาความแตกต่างระหว่างสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลของบริการโรคหลอดเลือดสมองและผลลัพธ์ : การศึกษาเชิงปริมาณ 

      จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; สมศักดิ์ เทียมเก่า; Somsak Tiamkoa; สุรัชดา ชนโสภณ; Suratchada Chonsophon; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; Onanong Waleekhachonloet; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; Thananan Rattanachotpanit (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2557-05)
      โรคหลอดเลือดสมองสามารถสะท้อนการส่งเสริมสุขภาพ การคัดกรองโรค การดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง การให้บริการโรคฉุกเฉินและการให้การรักษาที่ทันท่วงที การดูแลรักษาในโรงพยาบาลต้องอาศัยการตรวจวินิจฉัย และยาที่มีราคาสูง หรือการผ่าตัดสมอง ...
    • การศึกษาวิเคราะห์สถานการณ์การให้บริการด้านการแพทย์และการจัดการเครือข่ายบริการของโรงพยาบาลรัฐและเอกชน กรณีโรคหัวใจ และโรคหลอดเลือดสมอง 

      พัชนี ธรรมวันนา; Patchanee Thamwanna; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; Onanong Waleekhachonloet; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; Thananan Rattanachotphanit; พัฒนาวิไล อินใหม; Phatthanawilai Inmai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-12)
      เขตพื้นที่กรุงเทพมหานครเป็นพื้นที่มีลักษณะเป็นมหานคร มีการปกครองรูปแบบพิเศษโดยองค์กรปกครองท้องถิ่นที่รับผิดชอบดูแลครอบคลุมพื้นที่ทั้งจังหวัด ตามพระราชบัญญัติกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2528 ภายใต้การกำกับดูแลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ...
    • การเตรียมความพร้อมด้านระบบยา เวชภัณฑ์ และสิ่งของ เพื่อรองรับสถานการณ์ภัยพิบัติ 

      อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; ภาณุมาศ ภูมาศ; ดวงตา ผลากรกุล; พรพิมล จันทร์คุณภาส; ไพทิพย์ เหลือเรืองรอง; วรนัดดา ศรีสุพรรณ; ภัทร์อนงค์ จองศิริเลิศ; กิตติ พิทักษ์นิตินันท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการเตรียมความพร้อมในการดำเนินการดำเนินการจัดหาและสนับสนุนยาเวชภัณฑ์และสิ่งของในระหว่างการเกิดภัยพิบัติในรูปแบบต่างๆ ที่เคยเกิดขึ้น เพื่อเป็นแนวทางสำหรับรองรับสถานการณ์ภัยพิบัติในอนาคต ...
    • การใช้บริการรักษาพยาบาลแบบผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน และความจำเป็นทางสุขภาพที่ไม่ได้รับการตอบสนองของประชากรเขตกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 

      จุฑาทิพ ทั่งทอง; Jutatip Thungthong; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; Onanong Waleekhachonloet; สุรัชดา ชนโสภณ; Suratchada Chanasopon; คุณากร เอี้ยวสุวรรณ; Kunakorn Aewsuwan; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      แม้การบรรลุระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 จะช่วยให้คนไทยทั้งประเทศเข้าถึงบริการสุขภาพได้มากขึ้น แต่ประชากรกรุงเทพฯ ก็ยังคงมีปัญหาเข้าถึงการรักษาพยาบาลมากที่สุด เนื่องจากโครงสร้างพื้นฐานระบบบริการสุขภาพของกรุงเทพฯ ...
    • ความรู้เกี่ยวกับนโยบายสนับสนุนระบบบริการสุขภาพโรคเรื้อรังและการมีส่วนร่วมที่หน่วยบริการปฐมภูมิของเภสัชกรโรงพยาบาล 

      อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; หนึ่งฤทัย สุกใส; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; On-anong Waleekhachonloet; Nungruthai Suksai; Thananan Rattanachotphanit; Chulaporn Limwattananon; Samrit Srithamrongsawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-12)
      ในปัจจุบัน ระบบบริการปฐมภูมิมีบทบาทเพิ่มขึ้นในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่สามารถควบคุมอาการได้ การรักษาโรคเรื้อรังเกือบทั้งหมดเป็นการรักษาด้วยยา ดังนั้นเภสัชกรควรมีส่วนร่วมในการดูแลการใช้ยาในหน่วยบริการปฐมภูมิ ...
    • คุณภาพการสั่งใช้ยาผู้ป่วยนอก: ผลจากการวิเคราะห์ข้อมูล 18 แฟ้มมาตรฐานของโรงพยาบาล 

      อารีวรรณ เชี่ยวชาญวัฒนา; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; พิมประภา กิจวิธี; รัชตะ อุลมาน; วราภรณ์ สายสุนันทรารมย์; สมชาย สุริยะไกร; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Areewan Cheawchanwattana; Onanong Waleekhachonloet; Thananan Rattanachotphanit; Pimprapa Kitwitee; Ratchata Unlamarn; Waraporn Saisunantararom; Somchai Suriyakrai; Chulaporn Limwattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      การสั่งใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล จะช่วยให้เกิดสมดุลทางการเงินการคลังด้านสุขภาพ ในปัจจุบันโรงพยาบาลบันทึกข้อมูลการสั่งใช้ยาแก่ผู้ป่วยในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นมาตรฐาน การวิเคราะห์เพื่อประเมินคุณภาพการสั่งใช้ยายังมีอยู่จำกัด ...
    • ค่าใช้จ่ายของสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการกับการใช้ยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติ 

      จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; นพคุณ ธรรมธัชอารี; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; พัชนี ธรรมวันนา; สุพล ลิมวัฒนานนท์; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Chulaporn Limwattananon; Noppakun Thammatacharee; Onanong Waleekhachonloet; Patchanee Thamwanna; Supon Limwattananon; Samrit Srithamrongsawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-06)
      เป็นเวลากว่า 2 ทศวรรษแล้วที่ค่าใช้จ่ายของระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการซึ่งใช้ระบบการจ่ายเงินแบบปลายเปิดเติบโตอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงหลังที่ค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยนอกสูงกว่าผู้ป่วยใน การวิเคราะ ...
    • ต้นทุน-ประสิทธิผลของ Alendronate (ยาสามัญ) และ Risedronate (ยาต้นแบบ) สำหรับการป้องกันแบบปฐมภูมิของกระดูกหักในหญิงวัยหมดประจำเดือนที่มีปัจจัยเสี่ยง 

      ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; สุรัชดา กองศรี; ภาณุมาศ ภูมาศ; บัญญัติ สิทธิธัญกิจ; Thananan Rattanachotphanit; On-anong Waleekhachonloet; Surasak Chaiyasong; Suratchada Kongsri; Panumart Phumart; Bunyat Sitthithanyakit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03)
      การศึกษานี้วิเคราะห์ต้นทุน-ประสิทธิผลของ Alendronate (ที่เป็นยาชื่อสามัญ) และ Risedronate (ที่เป็นยาต้นแบบ) ในการป้องกันแบบปฐมภูมิของการเกิดกระดูกหักในหญิงวัยหมดประจำเดือนที่มีปัจจัยเสี่ยง ได้แก่ ข้ออักเสบรูห์มาตอยด์, ใช้ ...
    • ทบทวนประสิทธิผลและแนวทางการรักษาโรคกระดูกพรุนของกลุ่มยารักษาโรคกระดูกพรุน 

      ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; บัญญัติ สิทธิธัญกิจ; ชุติมาภรณ์ ไชยสงค์ (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2555-05)
      โรคกระดูกพรุนเป็นภาวะที่มวลกระดูกต่ำร่วมกับการเสื่อมของโครงสร้างระดับจุลภาคของกระดูกเป็นผลให้กระดูกมีความเปราะบาง ซึ่งเสี่ยงต่อการหักได้ง่าย โดยเฉพาะตำแหน่งของกระดูกสะโพก กระดูกสันหลัง และกระดูกข้อมือ การวินิจฉัยโรคกระดู ...
    • ปริมาณและมูลค่าการสั่งยาต้านแบคทีเรียแก่ผู้ป่วยนอกในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      นพคุณ ธรรมธัชอารี; Noppakun Thammatacharee; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; Onanong Waleekhachonloet; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      ที่มา: การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างไม่สมเหตุผลมีผลทำให้เกิดโรคติดเชื้อที่ดื้อต่อยาต้านจุลชีพ เป็นปัญหาทั้งทางสุขภาพและทางเศรษฐกิจที่สำคัญของโลก วัตถุประสงค์: เพื่อวิเคราะห์ปริมาณและมูลค่าการใช้ยาต้านแบคทีเรีย (ซึ่งเป็นส่วนหนึ ...
    • ปัจจัยที่มีผลต่อต้นทุนค่ารักษาพยาบาลของผู้ป่วยสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ และพนักงานส่วนท้องถิ่น 

      จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; สุพล ลิมวัฒนานนท์; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; ถาวร สกุลพาณิชย์; พัชนี ธรรมวันนา; ภาสกร สวนเรือง; พัฒนาวิไล อินใหม; เขมจรีย์ โรจนพรทิพย์; ประไพร อุตมา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.), 2559)
      ก่อน พ.ศ. 2556 ข้าราชการและพนักงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) แม้จะได้รับสวัสดิการรักษาพยาบาลจากรัฐ มักประสบปัญหาด้านภาระค่าใช้จ่ายจากการรักษาพยาบาล โดยเฉพาะโรคที่มีค่าใช้จ่ายสูงเพราะต้องสำรองจ่ายก่อน ...
    • ผลลัพธ์ต่อพฤติกรรมการสั่งยาและผู้ป่วยจากการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาสมเหตุผล 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; เชิดชัย สุนทรภาส; Cheardchai Soontornpas; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; Onanong Waleekhachonloet; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; Thananan Rattanachotphanit; รัชฎาพร สุนทรภาส; Ratchadaporn Soontornpas; เบญจพร ศิลารักษ์; Benjaporn Silaruks; รัชตะ อุลมาน; Ratchata Unlamarn; ภคอร อุลมาน; Phakaon Unlamarn; นรภัทร จิตไธสง; Norapat Jitthaisong; ธิติ ทุมเสน; Thiti Tumsen; พิมพ์ประภา กิจวิธี; Pimprapa Kitwitee; จาติกา รัตนดาดาษ; Jatica Ratanadadas (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-03)
      งานวิจัยนี้ประเมินผลการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาสมเหตุผล (นโยบาย RDU Hospital/RDU Service Plan) โดยมุ่งเน้นผลลัพธ์ที่เกิดจากนโยบาย อาศัยการวิเคราะห์ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ขนาดใหญ่ ศึกษาการเปลี่ยนแปลงแนวโน้มของตั ...