Browsing by Author "Borwon Wittayachamnankul"
Now showing items 1-7 of 7
-
การรอดชีวิตของผู้บาดเจ็บหัวใจหยุดเต้นนอกโรงพยาบาลที่ได้รับการช่วยเหลือดูแลรักษาโดยระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน
พรรณารัฐ อร่ามเรือง; Pannarat Aramrerng; กรองกาญจน์ สุธรรม; Krongkarn Sutham; บวร วิทยชำนาญกุล; Borwon Wittayachamnankul; วีรพล แก้วแปงจันทร์; Weerapont Kaewpaengchan; วิพุธ เล้าสุขศรี; Wiput Laosuksri; รัดเกล้า สายหร่าย; Rudklao Sairai; ปริญญา เทียนวิบูลย์; Parinya Tianwibool (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-03-31)ภูมิหลังและเหตุผล ประเทศไทยมีอัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บจากการจราจรทางถนนสูงสุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สูงสุดถึง 32.7 คนต่อ 1 แสนประชากร จังหวัดเชียงใหม่มีอัตราการเสียชีวิตเป็นอันดับที่ 5 ของประเทศ การจัดระบบบ ... -
ความถูกต้องของการวินิจฉัยภาวะหัวใจหยุดเต้นนอกโรงพยาบาลโดยผู้จ่ายงานปฏิบัติการฉุกเฉิน
สุนิสา ต๋าจ๊ะ; Sunisa Taja; ปริญญา เทียนวิบูลย์; Parinya Tianwibool; กรองกาญจน์ สุธรรม; Krongkarn Sutham; วิพุธ เล้าสุขศรี; Wiput Laosuksri; รัดเกล้า สายหร่าย; Rudklao Sairai; วีรพล แก้วแปงจันทร์; Weerapont Kaewpaengchan; เชิดพงษ์ ปัญญา; Cherdpong Panya; บวร วิทยชำนาญกุล; Borwon Wittayachamnankul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-06)ภูมิหลังและเหตุผล การศึกษาก่อนหน้านี้รายงานว่า การวินิจฉัยของผู้จ่ายงานปฏิบัติการฉุกเฉิน (ผจป.) มีความถูกต้องในระดับที่แตกต่างกันไปในแต่ละที่ แต่ยังไม่พบการศึกษาในประเทศไทย วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้เพื่อศึกษาความถูกต้อง ... -
ความสัมพันธ์ของเกณฑ์คัดแยกและมาตรความเฉียบพลันแคนาดากับผลลัพธ์ของผู้ป่วยในระยะแรก
หฤทัย สายสิงห์ทอง; Haruethai Saisingthong; บวร วิทยชำนาญกุล; Borwon Wittayachamnankul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-12)สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติได้กำหนดให้มีหลักเกณฑ์การตรวจคัดแยกผู้ป่วยตามลำดับความเร่งด่วนเป็น 5 ระดับ ซึ่งเกณฑ์คัดแยกและมาตรความเฉียบพลันแคนาดา (Canadian Triage and Acuity Scale; CTAS) เป็นระบบคัดแยกผู้ป่วยตามความเร่งด่วน ... -
ความเข้าใจของประชาชนต่อการคัดแยกระดับความรุนแรงของการเจ็บป่วยฉุกเฉินของผู้ป่วยก่อนถึงโรงพยาบาล
อุมารินทร์ คำพูล; Aumarin Kumpool; บวร วิทยชำนาญกุล; Borwon Wittayachamnankul; บริบูรณ์ เชนธนากิจ; Boriboon Chenthanakij; กรองกาญจน์ สุธรรม; Krongkarn Sutham (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-06-30)วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความเข้าใจของประชาชนต่อการคัดแยกระดับความรุนแรงของการเจ็บป่วยฉุกเฉินของผู้ป่วยก่อนถึงโรงพยาบาลในแง่ความเห็นพ้องกับเกณฑ์การคัดแยกผู้ป่วยของสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ และศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ ... -
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระยะเวลาที่ผู้ป่วยอยู่ในแผนกฉุกเฉินนานมากกว่า 6 ชั่วโมง
กรกต ปล้องทอง; Korakot Plongthong; บริบูรณ์ เชนธนากิจ; Boriboon Chenthanakij; บวร วิทยชำนาญกุล; Borwon Wittayachamnankul; ปริญญา เทียนวิบูลย์; Parinya Tianwibool; พิชญุตม์ ภิญโญ; Phichayut Phinyo; ธีรพล ตั้งสุวรรณรักษ์; Theerapon Tangsuwanaruk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)ภูมิหลังและเหตุผล การใช้เวลาในแผนกฉุกเฉินนานส่งผลต่อระยะเวลาการนอนโรงพยาบาลที่ยาวนานขึ้น การเสียชีวิตที่เพิ่มขึ้นของผู้ป่วย ตลอดจนเพิ่มการใช้ทรัพยากรและงบประมาณ การทราบถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อระยะเวลาที่ผู้ป่วยอยู่ในแผนกฉุกเฉิน ... -
ปัญหาและอุปสรรคของการใช้โปรแกรมรับแจ้งเหตุและสั่งการการแพทย์ฉุกเฉินในการคัดแยกและจัดลำดับการจ่ายงาน
ภาวิตา เลาหกุล; Pavita Laohakul; บวร วิทยชำนาญกุล; Borwon Wittayachamnankul; คัมภีร์ สรวมสิริ; Kamphee Sruamsiri; ปริญญา เทียนวิบูลย์; Parinya Tianwibool (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09-30)ภูมิหลังและเหตุผล การรักษาผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลที่ล่าช้าและไม่เหมาะสมอาจทำให้ผู้ป่วยอาการแย่ลงได้ การใช้โปรแกรม ITEMS (information technology for emergency medical system) ก่อนรับผู้ป่วย ช่วยให้เลือกชุดปฏิบัติการฉุกเฉินเหม ... -
เหตุใดคนเชียงใหม่เมื่อเกิดเจ็บป่วยฉุกเฉิน หรืออุบัติเหตุจึงไม่เรียกใช้บริการการแพทย์ฉุกเฉิน
ณัชชา หาญสุทธิเวชกุล; บริบูรณ์ เชนธนากิจ; บวร วิทยชำนาญกุล; Natcha Hansudewechakul; Boriboon Chenthanakij; Borwon Wittayachamnankul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)การเจ็บป่วยฉุกเฉินและอุบัติเหตุเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดความสูญเสียและเป็นสาเหตุการตายอันดับต้นของประชากรไทย การมีระบบการดูแลก่อนถึงโรงพยาบาลที่ดีจะช่วยลดอัตราการสูญเสียได้ กระทรวงสาธารณสุขจึงมีนโยบายให้โรงพยาบาลต่างๆ ...