Browsing by Author "Saichon Kloyiam"
Now showing items 1-8 of 8
-
กรอบแนวคิดปัจจัยเชิงประจักษ์ที่สัมพันธ์กับการเป็นผู้ประกันตนภาคสมัครใจในระบบประกันสังคม: การประยุกต์ใช้เพื่อขยายความคุ้มครองในระบบประกันสังคม มาตรา 40 ของประเทศไทย
สายชล คล้อยเอี่ยม; Saichon Kloyiam; ณภูมิ สุวรรณภูมิ; Napoom Suwannapoom; พิสิฐ ศรีรัตนวงศ์; Phisit Srirattanawong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)ภูมิหลังและเหตุผล: การขยายความคุ้มครองของระบบประกันสังคมสู่แรงงานนอกระบบเป็นเป้าหมายสำคัญของหลายประเทศ ประเทศไทยส่งเสริมและขยายความคุ้มครองนี้สู่แรงงานนอกระบบผ่านพระราชบัญญัติประกันสังคมมาตรา 40 ที่เป็นภาคสมัครใจ ... -
การสำรวจความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชนไทย อายุ 15 ปี ขึ้นไป พ.ศ. 2562
วิมล โรมา; Wimon Roma; สายชล คล้อยเอี่ยม; Saichon Kloyiam; วรัญญา สุขวงศ์; Warunya Sookawong; ฐิติวัฒน์ แก้วอำดี; Thitiwat Kaew-Amdee; อัจฉรา ตันหนึ่ง; Atchara Tunnung; รุ่งนภา คำผาง; Roongnapa Khampang; รักมณี บุตรชน; Rukmanee Butchon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-11)การสำรวจความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชนไทย อายุ 15 ปี ขึ้นไป มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาสถานการณ์ความรอบรู้ด้านสุขภาพในระดับเขตสุขภาพและประเทศตามทักษะความรอบรู้ด้านสุขภาพและบริบทที่จำเป็นต่อการมีสุขภาพที่ดีตลอดช่วงวัย 2. ... -
การสำรวจความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชนไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2566 (ครั้งที่ 2) การส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในประเทศไทย: การประเมินสถานการณ์ปัจจุบัน ปัจจัยกำหนด และข้อเสนอเชิงนโยบาย
ศุภฤกษ์ สื่อรุ่งเรือง; Suparerk Suerungruang; กิ่งพิกุล ชำนาญคง; Kingpikul Chamnankong; มณฑล หวานวาจา; Montol Wanwaja; สายชล คล้อยเอี่ยม; Saichon Kloyiam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-11)ความเป็นมาและความสำคัญ: ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy; HL) เป็นทักษะของบุคคลในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากข้อมูลเพื่อตัดสินใจดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างเหมาะสม ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาสุขภาวะของประชากร วัตถุประสงค์: ... -
ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการส่งเงินสมทบจนเกิดสิทธิของผู้ประกันตนในระบบประกันสังคมตามมาตรา 40: กรณีการเกิดสิทธิขอรับประโยชน์ทดแทนการขาดรายได้เมื่อประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย
สายชล คล้อยเอี่ยม; Saichon Kloyiam; พิสิฐ ศรีรัตนวงศ์; Phisit Srirattanawong; ณภูมิ สุวรรณภูมิ; Napoom Suwannapoom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)การศึกษาโดยการสังเกตเชิงวิเคราะห์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อการส่งเงินสมทบจนเกิดสิทธิขอรับประโยชน์ทดแทนการขาดรายได้กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยของผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ที่เข้าสู่ระบบประกันสังคม ... -
ผลของการสนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาองค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพ ในสถานบริการสุขภาพภาครัฐ ในปฏิบัติการ สาสุข อุ่นใจ
สายชล คล้อยเอี่ยม; Saichon Kloyiam; กมลวรรณ สุขประเสริฐ; Kamonwan Sukprasert; ภารุจีร์ เจริญเผ่า; Parujee Charoenphao; ฐานิตา คุณารักษ์; Thanita Kunarak; กันยา เค้นา; Kanya Kena (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)การเป็นองค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพช่วยให้สถานบริการสุขภาพภาครัฐพัฒนาคุณภาพการบริการสุขภาพได้ดีขึ้น มีประสิทธิภาพมากขึ้น และมีผลโดยตรงต่อผู้ใช้บริการ สถาบันการแพทย์ของสหรัฐอเมริกา ให้คำนิยามแก่องค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพว่า ... -
พฤติกรรมการขอรับประโยชน์ทดแทนของผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ที่ประกอบอาชีพขับรถรับจ้างในภาคการขนส่ง: การวิเคราะห์จากฐานข้อมูลผู้ประกันตน ของสำนักงานประกันสังคม ระหว่างปี 2561–2563
สายชล คล้อยเอี่ยม; Saichon Kloyiam; พิสิฐ ศรีรัตนวงศ์; Phisit Srirattanawong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการขอรับประโยชน์ทดแทนของผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ที่ประกอบอาชีพขับรถรับจ้างในภาคการขนส่งที่อาจเป็นภาพสะท้อนแนวโน้มการใช้บริการประกันสังคมของแรงงานแพลตฟอร์มที่มีแนวโน้มเป็นที่นิยมข ... -
สาเหตุของการส่งเงินสมทบไม่ต่อเนื่องของผู้ประกันตนตามมาตรา 40: การศึกษาเชิงคุณภาพ
สายชล คล้อยเอี่ยม; Saichon Kloyiam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)การศึกษาเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสาเหตุที่ทำให้ผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ขาดส่งเงินสมทบหรือส่งเงินสมทบไม่ต่อเนื่อง โดยเก็บข้อมูล 2 วิธี คือ 1) การสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์กับอาสาสมัครแรงงานและเครือข่ายประกันสังคมตามมาตรา ... -
ใครบรรลุเป้าหมายระยะทาง 60 กิโลเมตร ใน 60 วัน ของนโยบายส่งเสริมการก้าวเดินครั้งที่ 1 ของประเทศไทย? การศึกษาภาคตัดขวางของประชาชนไทยวัยผู้ใหญ่
ชลพันธ์ ปิยถาวรอนันต์; Chonlaphan Piyathawornanan; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; สายชล คล้อยเอี่ยม; Saichon Kloyiam; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; พีรยา เพียรเจริญ; Peeraya Piancharoen; อุดม อัศวุตมางกุร; Udom Asawutmangkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-03)ประเทศไทย โดยกระทรวงสาธารณสุข ได้ดำเนินนโยบายส่งเสริมการก้าวเดินเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2563 ผ่านโครงการก้าวท้าใจ โดยมีเป้าหมายที่ระยะทาง 60 กิโลเมตร ใน 60 วัน ตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ ถึง 31 มีนาคม พ.ศ. 2563 จุดมุ่งหมาย ...