Now showing items 1-6 of 6

    • การถอดบทเรียนเพื่อนําไปสู่ข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนานโยบายการบําบัดทดแทนไตภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 

      ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; จิรัฏฐ์ พรรณจิตต์; Jeerath Phannajit; วิรุฬ ลิ้มสวาท; Wirun Limsawart; นัชชา ยงพิพัฒน์วงศ์; Natcha Yongphiphatwong; Chavarina, Kinanti Khansa; Botwright, Siobhan; Dabak, Saudamini; จิราธร สุตะวงศ์; Jiratorn Sutawong; นาตาชา ชวาลา; Natasha Chawla; ธนัยนันท์ ชวนไชยะกูล; Tanainan Chuanchaiyakul; จุฬาทิพย์ บุญมา; Chulathip Boonma; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; ธัญญรัตน์ อโนทัยสินทวี; Thunyarat Anothaisintawee; เด่นหล้า ปาลเดชพงศ์; Denla Paladechpong; จุฑามาศ ปิยะวงษ์; Jutamas Piyawong; สุพิชชา ถิตย์เจือ; Supichcha Thitjuea (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-01)
      หลักการและเหตุผล : ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย (End stage kidney disease, ESKD) เป็นโรคที่คุกคามชีวิตผู้คนจำนวนมาก ซึ่งผู้ป่วยจำเป็นต้องเข้ารับการบำบัดทดแทนไตด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งเพื่อให้มีชีวิตยืนยาว ประเทศไทยเริ่มให้สิทธิใน ...
    • การประเมินการดำเนินการเพิ่มศักยภาพเครือข่ายระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ เพื่อให้การดูแลผู้ป่วยโควิด-19 ที่บ้าน ในช่วงเวลาที่เกิดวิกฤติระบบสุขภาพในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 

      ศิรินภา ศิริพร ณ ราชสีมา; Sirinapa Siriporn Na Ratchaseema; สายรัตน์ นกน้อย; Sairat Noknoy; อภินันท์ อร่ามรัตน์; Apinun Aramrattana; สุพัตรา ศรีวณิชชากร; Supattra Srivanichakorn; อนุวัตร แก้วเชียงหวาง; Anuwat Kaewchiangwang; ราม รังสินธุ์; Ram Rangsin; สตางค์ ศุภผล; Satang Supapon; วิรุฬ ลิ้มสวาท; Wirun Limsawart; นิตยา ภานุภาค; Nittaya Phanuphak; ปิยวรรณ ลิ้มปัญญาเลิศ; Piyawan Limpanyalert; กิตติ วงศ์ถาวราวัฒน์; Kitti Wongthavarawat; ยุพดี ศิริสินสุข; Yupadee Sirisinsuk; นาถนภา คำลอยฟ้า; Nathnapha Khumloyfa; นิมิตร์ เทียนอุดม; Nimit Tienudom; นพพรรณ พรหมศรี; Nopphan Promsri; ทัศนีย์ ญาณะ; Tassanee Yana; เกรียงไกร พึ่งเชื้อ; Kriengkrai Peungchuer; พลวัฒน์ ทศวิภาค; Ponrawat Thotwiphak; ธีระบูลย์ เลิศวณิชย์วัฒนา; Teeraboon Lertwanichwattana (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งเป็นโรคอุบัติใหม่ ช่วงกลางปี พ.ศ. 2564 นำไปสู่ปัญหาวิกฤติระบบสุขภาพในกรุงเทพมหานครที่ผู้ป่วยหนักไม่สามารถเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล ราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ ...
    • การประเมินการดำเนินงานพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 ตามแนวคิดทุกนโยบายห่วงใยสุขภาพในประเทศไทย 

      จอมขวัญ โยธาสมุทร; Jomkwan Yothasamut; วิรุฬ ลิ้มสวาท; Wirun Limsawart; ธีรพัฒน์ อังศุชวาล; Theerapat Ungsuchaval; คนางค์ คันธมธุรพจน์; Kanang Kantamaturapoj; ศรวณีย์ อวนศรี; Sonvanee Uansri; จุฑามาศ ปิยะวงษ์; Jutamas Piyawong; อารยา ญาณพิบูลย์; Araya Yanpiboon; กานติมา วิชชุวรนันท์; Kantima Wichuwaranan; จุฑามณี สารเสวก; Chuthamanee Sarnsawek; กรวรรณ พูนสวัสดิ์; Korawan Poonsawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07-19)
      แนวคิด “ทุกนโยบายห่วงใยสุขภาพ” หรือ Health in All Policies (HiAP) ได้ถูกกล่าวถึงในฐานะแนวคิดและหลักการ ซึ่งกำหนดอยู่ในพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 และมีการนำไปปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ยังมีช่องว่างขององค์ความรู้ ...
    • การศึกษาและพัฒนากลไกความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่ออภิบาลระบบสุขภาพท้องถิ่นภายใต้บริบทการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัด 

      ปรีดา แต้อารักษ์; Preeda Taearak; วีระศักดิ์ เครือเทพ; Weerasak Krueathep; วิรุฬ ลิ้มสวาท; Wirun Limsawart; พีธากร ศรีบุตรวงษ์; Peethakorn Sribhudwong; ศักดิ์ชัย กาญจนวัฒนา; Sakchai Kanjanawatana; ปรานอม โอสาร; Pranom Aosan; ศดานนท์ วัตตธรรม; Sadanon Wattatham; ศิริศักดิ์ เหล่าจันขาม; Sirisak Laochankham; เฉลิมพร วรพันธกิจ; Chalermphorn Worraphantakit; ไกรวุฒิ ใจคําปัน; Kraiwuth Jaikampan; ธวัชชัย เอกสันติ; Thawatchai Aeksanti; ดารินทร์ กําแพงเพชร; Darin Kamphaengphet; ศักดิ์ณรงค์ มงคล; Saknarong Mongkol; โกเมนทร์ ทิวทอง; Komain Tewtong; ภัชร์จิรัสม์ ธัชเมฆรัตน์; Pachjirat Thachmakerat; ศุมล ศรีสุขวัฒนา; Soomol Srisookwatana; จารึก ไชยรักษ์; Jaruek Chairak; วีรบูรณ์ วิสารทสกุล; Weeraboon Wisartsakul; จักรินทร์ สีมา; Jakkarin Seema (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-12)
      การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบทความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างอำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ในพื้นที่ในกลไกการบริการด้านสุขภาพปฐมภูมิ และมุ่งพัฒนารูปแบบกลไกความร่วมมือระหว่าง อปท. ในการอภิบาลระบบสุขภาพ ...
    • การอภิบาลระบบสุขภาพแห่งชาติของประเทศไทย หลังการประกาศใช้ พ.ร.บ. สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550: กรอบแนวคิด พัฒนาการ และข้อเสนอเพื่อการพัฒนา 

      วิรุฬ ลิ้มสวาท; Wirun Limsawart (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสังคมและการปฏิรูปโครงสร้างระบบสุขภาพในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมา ได้สร้างความท้าทายใหม่ๆ ในการอภิบาลระบบสุขภาพของประเทศไทย ภายหลังการตั้งสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ในปี พ.ศ.2535 มีการจัดตั้ ...
    • ยกระดับศักยภาพการรับมือกับภาวะวิกฤตด้านสุขภาพ ด้วยนวัตกรรมการจัดการระบบสุขภาพปฐมภูมิโดยชุมชน: กรณีศึกษาชุมชนพื้นที่กรุงเทพมหานครและต่างจังหวัด 

      ปรีดา แต้อารักษ์; Preeda Taearak; วิรุฬ ลิ้มสวาท; Wirun Limsawart; ปรานอม โอสาร; Pranom Aosan; ศิริวัฒน์ ทิพย์ธราดล; Siriwat Tiptaradol; พรฤดี นิธิรัตน์; Pornruedee Nitirat; วีรบูรณ์ วิสารทสกุล; Weeraboon Wisartsakul; จารึก ไชยรักษ์; Jaruek Chairak; นวพร ดำแสงสวัสดิ์; Nawaporn Damsangsawat; แสงดาว จันทร์ดา; Saengdao Janda; ปิ่นนเรศ กาศอุดม; Pinnarate Gadudom; จักรินทร์ สีมา; Jakkarin Seema; นันทพร เตชะประเสริฐสกุล; Nantaporn Techaprasertsakul; นภินทร ศิริไทย; Napintorn Sirithai; จุฑามาศ ปิยะวงษ์; Jutamas Piyawong; ฐปพร เกษกำจร; Thapaporn Keskamjorn; สุภาภรณ์ ดำรงพันธ์; Supaporn Damrongphan; ช่อฉัตร สุนทรพะลิน; Chorchat Soonthornpalin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-12)
      ภูมิหลังและเหตุผล วิกฤตการระบาดของโรคโควิด-19 ทำให้เกิดความตระหนักถึงความสำคัญของการเสริมพลังชุมชนให้มีศักยภาพในการร่วมเป็นส่วนหนึ่งของระบบสุขภาพปฐมภูมิที่เชื่อมโยงเป็นระบบสุขภาพแบบบูรณาการ (Integrated Health System) ...