Now showing items 1-20 of 572

    • Alcoholism alcoholisten 

      ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; ยศ ตีระวัฒนานนท์; มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; ชัฏสรวง หลวงพล (โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ, 2551)
      เยาวชนชอบดูแลอ่านหนังสือการ์ตูน ดังจะเห็นได้ว่าหนังสือการ์ตูนทั้งของไทยและเทศขายดิบขายดี การ์ตูนจึงเป็นสื่อที่สำคัญอย่างหนึ่งที่จะเข้าถึงความคิดและจิตใจของเยาวชนได้ หนังสือการ์ตูนเล่มนี้จึงเป็นเครื่องมือทางสังคมที่สำคัญ ...
    • CUP Management : การบริหารจัดการเครือข่ายหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิ 

      สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ; Ernst Tenambergen (สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2550-08)
      หน่วยบริหารจัดการเครือข่ายบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ ซึ่งเดิมเป็นบทบาทที่ใช้ในนามของคณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขระดับอำเภอ (คปสอ.) ฐานะที่เป็นองค์กรบริหารจัดการและพัฒนาระบบสาธารณสุขอำเภอ ซึ่งปัจจุบันมีการใช้คำใหม่ในความหมา ...
    • DAD : Differently-Abled Design คู่มือออกแบบสำหรับความสามารถที่แตกต่าง 

      กษมา แย้มตรี; ยศวดี สนธิไชย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-07)
      DAD “Differently-Abled Design” คู่มือออกแบบสำหรับความสามารถที่แตกต่าง เป็นองค์ความรู้ที่มาจากการถอดบทเรียนการทำงานของกลุ่มสถาปนิกชุมชนที่เข้าไปคลุกคลีกับชุมชนและคนทำงานในพื้นที่ เรียนรู้และอาศัยประสบการณ์จากคนในพื้นที่ ...
    • R2R สานสุขการเรียนรู้ในงานประจำ 

      วิจารณ์ พานิช; สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์; พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; เชิดชัย นพมณีจำรัสเลิศ; อัครินทร์ นิมมานนิตย์; กุลธร กิติพูลวงษ์วนิช (โครงการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยาหิดล, 2554-07)
      หนังสือ “R2R สานสุขการเรียนรู้ในงานประจำ” จัดทำเพื่อใช้เป็นเครื่องมือขับเคลื่อนขบวนการและเครือข่าย R2R ด้วยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ตรงของผู้ที่ได้สัมผัสกิจกรรม R2R จากหลากหลายบทบาทหลากหลายมิติ การทำความเข้าใจ R2R ...
    • Taichi and the Blinds ถอดบทเรียนโครงการสร้างเสริมสุขภาพคนพิการทางการเห็นในชุมชน 

      กนกพร อัศวเมธิกาพงศ์; ณัฐวรรณ ชูสุวรรณ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-12)
      โครงการสร้างเสริมสุขภาพคนพิการทางการเห็นในชุมชน เป็นโครงการที่มุ่งหวังให้ครูฝึกทักษะการสร้างความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมและการเคลื่อนไหว หรือ O&M ได้สามารถนำเครื่องมือที่เคยได้เรียนรู้จากการอบรมร่วมกับสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ...
    • WE ME มีฉัน มีเรา เพราะชีวิต เกี่ยวเนื่องและเชื่อมโยง 

      กนกเลขา สิงห์เสน่ห์; อีวอน แย็ป; ทาสึยูกิ ไอดะ; เอริโกะ ไอดะ; มนต์ศักดิ์ ชัยวีระเดช (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-06)
      มีเรื่องราวมากมายเกิดขึ้นในโลกใบนี้ เรื่องราวทั้งทุกข์และสุข ร้อยยิ้ม หยาดน้ำตา เสียงหัวเราะ การต่อสู้ ความไม่เข้าใจ อึดอัด โกรธ สนุก เกลียด กลัว ผิดหวัง พยายาม ไม่ยอมแพ้ ภูมิใจ สิ่งเหล่านี้ต่างเติมเต็มชีวิตให้มีรสชาติ ...
    • กระบวนการดูแลสุขภาพจิตตามวิถีอิสลามของผู้ป่วยระยะสุดท้าย : ผู้ป่วยชาวไทยมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ 

      ฮามีดะห์ฮาสัน โต๊ะมะ; Hamidahhasan Tohma; อาหมัด อัลฟารีตีย์; Armad al-fariti; หนุ๊ มาสาระกามา; Nuh Masarakama; อับดุลรอหฺมาน มะโซะ; Abdunroman Masoh; Laongdau Shawo; รูไวดา ราแดง; Ruwaida Radeang; พรรณวดี อาแวนิ; Phannawadi Awaeni; ละอองดาว แซ่วื่อ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562)
      จากการศึกษาเรื่อง “กระบวนการดูแลสุขภาพจิตตามวิถีอิสลามของผู้ป่วยระยะสุดท้าย : ผู้ป่วยชาวไทยมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้” เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ประกอบด้วยข้อมูลจากเอกสาร โดยทำการศึกษาจากอัลกุรอาน ...
    • กระบวนการบริหารจัดการเพื่อการดูแลผู้รอดชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมองในระยะยาวของผู้ดูแล ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดยะลา 

      จิตตินันท์ พงสุวรรณ; Chittinan Pongsuwan; พิชญ์ชญานิษฐ์ เรืองเริงกุลฤทธิ์; Pichayanit Ruangroengkulrit; กาญจน์สุนภัส บาลทิพย์; Karnsunaphat Balthip (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-01)
      การวิจัยแบบวิธีวิทยาการสร้างทฤษฎีฐานรากแบบสเตราส์ (Straussian grounded theory approach) นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการบริหารจัดการเพื่อการดูแลผู้รอดชีวิตจากโรคหลอดเลือดในระยะยาวของผู้ดูแล จากกลุ่มตัวอย่างที่มีประส ...
    • กระบวนการสื่อสารการรณรงค์ด้านสุขภาพ 

      วาสนา จันทร์สว่าง; Wasana Chansawang; นาตยา เกรียงชัยพฤกษ์; ยุทธพงษ์ ขวัญชื้น; วิทยา เทียนจวง; พงศ์พันธ์ อันตะริกานนท์; นิทัศน์ ศิริโชติรัตน์; Nataya Khiangchiphuek; Yutapong Khanchuen; Witaya Thianchawng; Pongphan Antarikhanon; Nitan Sirichorat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการสื่อสารการรณรงค์ขององค์กรภาครัฐ เอกชน ธุรกิจ และท้องถิ่นหรือชุมชน ผู้นำหรือผู้ปฏิบัติงานรณรงค์และกลุ่มเป้าหมายในการรณรงค์ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยเฉพาะเจาะจง โดยมีเกณฑ์ในการเลื ...
    • กระบวนทัศน์เกี่ยวกับสุขภาพและภูมิปัญญาพื้นบ้านเกี่ยวกับสุขภาพ : มุมมองจากทฤษฎีสังคม 

      ฉลาดชาย รมิตานนท์; Chalatchai Ramitanon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      หนังสือเล่มนี้เป็นการรวบรวมและเรียบเรียงแนวความคิดทางทฤษฎีสังคมศาสตร์ที่อาจสามารถนำมาใช้เพื่อศึกษาทำความเข้าใจมิติทางด้านสุขภาพอนามัยของสังคมไทย โดยให้ความสนใจเป็นพิเศษกับการชี้ประเด็นเบื้องต้นบางประการที่อาจนำมาใช้ศึกษา ...
    • กลไกการทำงานของโปรตีนที่เกี่ยวข้องกับ signal transduction และพยาธิสภาพของการติดเชื้อไวรัสเดงกี่ 

      กอบพร บุญนาค; Kobporn Boonnak; สง่า พัฒนากิจสกุล; Sa-nga Pattanakitsakul; อรภัค เรี่ยมทอง; Onrapak Reamtong; อรุณรุ่ง สุทธิเทพธำรง; Aroonroong Suttitheptumrong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)
      Antibody-dependent enhancement (ADE) เป็นปรากฏการณ์หนึ่งที่สำคัญในการเกิดโรคไข้เลือดออก ที่มีการติดเชื้อไวรัสซ้ำครั้งที่ 2 เซลล์โมโนไซต์เป็นเป้าหมายของการติดเชื้อไวรัสในขบวนการ ADE การศึกษานี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาโปรตี ...
    • การขยายผลการใช้งานต้นแบบเต็นท์ความดันลบสำหรับแยกผู้ป่วย เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางเดินหายใจในสถานการณ์โรคระบาดโควิด-19 

      ศราวุธ เลิศพลังสันติ; Sarawut Lerspalungsanti; ฉัตรชัย ศรีสุรางค์กุล; Chadchai Srisurangkul; พรพิพัฒน์ อยู่สา; Pornpipat Yoosa; ณรงค์ฤทธิ์ สืบนันตา; Narongrit Suebnunta; ประสิทธิ์ วัฒนวงศ์สกุล; Prasit Wattanawongsakun; ธีระพงษ์ บุญมา; Teerapong Boonma; พีรกิตติ์ วิริยะรัตนศักดิ์; Perakit Viriyarattanasak; ฝอยฝน ศรีสวัสดิ์; Foifon Srisawat; สุธิมา สุขอ่อน; Suthima Suk-on; ฮาซียะห์ แวหามะ; Haziyah Waehama; เปริน วันแอเลาะ; Perin Wan-ae-loh; ดวงกมล วรเกษมศักดิ์; Duanggamon Vorakasemsak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      จากที่คณะวิจัยได้มีการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเต็นท์ความดันลบสำหรับแยกผู้ป่วยติดเชื้อ (Patient Isolation Chamber for Home & Community Isolation) หรือ “ไฮพีท HI PETE” ขึ้นมาในช่วงสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ...
    • การขับเคลื่อนชุมชน: เครื่องมือ และวิธีจัดการความรู้เพื่อการพัฒนาสุขภาวะชุมชน 

      สำนักงานวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน; มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554)
    • การคัดเลือกชุดทดสอบสารหนูภาคสนามสำหรับใช้งานในเขตอำเภอร่อนพิบูลย์ 

      อุไรวรรณ หมัดอ่าดัม; Uraiwan Madardam; วิไลวรรณ พุทธพฤกษ์; ประสิทธิ์ คงทอง; Wilaiwan putttapruk; Prasit Kongthong; โรงพยาบาลร่อนพิบูลย์; Ronpibun Hospital (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      ปัญหาที่สําคัญของงานสาธารณสุขในปัจจุบันของอำเภอร่อนพิบูลย์ คือ การขาดข้อมูลที่ชี้ให้เห็นถึงการปนเปื้อนของสารหนูหลังจากที่ได้พบการปนเปื้อนสารหนูในน้ำบ่อตื้นในอ.ร่อนพิบูลย์ ตั้งแต่ปีพ.ศ.2529 เป็นต้นมา ได้มีความพยายามในหลายๆ ...
    • การจัดการความรู้พื้นบ้านในการดูแลรักษาอาการที่เกี่ยวเนื่องกับความพิการ กรณีศึกษาอัมพฤกษ์-อัมพาต จังหวัดเชียงใหม่ 

      อารีวรรณ ทับทอง; วิโรจน์ กันทาสุข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขแผนงานสร้างเสริมสุขภาพคนพิการในสังคมไทย, 2549)
      การจัดการความรู้พื้นบ้านของหมอเมืองในการดูแลรักษาอาการที่เกี่ยวเนื่องกับความอัมพฤกษ์-อัมพาตนั้นไม่ได้แยกความรู้เรื่องนี้ออกมาเพียงอย่างเดียว แต่เป็นความรู้ที่มีลักษณะร่วมกันอยู่หลายความรู้ตามสถานการณ์ความเจ็บป่วยในชุมชน ...
    • การจัดการความรู้ยาไทยและยาจากสมุนไพรในโรงพยาบาลชุมชน 

      จิราพร ลิ้มปานานนท์; รัชนี จันทร์เกษ; สุรัตนา อำนวยผล (สถาบันสุขภาพวิถีไทย, 2552-08)
      หนังสือ “การจัดการความรู้ยาไทยและยาจากสมุนไพรในโรงพยาบาลชุมชน” นี้ เป็นผลลัพธ์ของโครงการการจัดการความรู้ยาไทยและยาจากสมุนไพรในโรงพยาบาลชุมชน ซึ่งนอกจากการทบทวนการศึกษาแล้ว ยังมีการรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติมจากการสัมภาษณ์ผู้ที ...
    • การจัดการความรู้แบบบูรณาการ กรณีเบาหวาน-ความดันโลหิตสูง 

      อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล; ดวงสมร บุญผดุง; อารยา ทองผิว; สมเกียรติ โพธิสัตย์; วัลลา ตันตโยทัย (สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล, 2553-02)
      โครงการ “การจัดการความรู้แบบบูรณาการ กรณีเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง” เป็นโครงการที่พัฒนาต่อยอดและบูรณาการทำงานของเครือข่าย 2 เครือข่ายซึ่งมีการดำเนินการอยู่แล้ว คือเครือข่ายเวชปฏิบัติที่ดีทางคลินิกเพื่อการพัฒนาการดูแลโรคเบาหวาน ...
    • การจัดการความรู้และสังเคราะห์แนวทางปฏิบัติของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล : การจัดการระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง กรณีเบาหวานและความดันโลหิตสูง 

      สุพัตรา ศรีวณิชชากร; สตางค์ ศุภผล; ทัศนีย์ ญาณะ; รัชดา พิพัฒน์ศาสตร์; อรอนงค์ ดิเรกบุษราคม; ผการัตน์ ฤทธิ์ศรีบุญ; พฤกษา บุกบุญ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-11)
      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ให้ความสำคัญกับการวิจัยและพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ โดยเป็นแผนงานวิจัยหนึ่งที่ให้การสนับสนุนมาอย่างต่อเนื่อง มีสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (สพช.) เป็นกลไกสำคัญ เมื่อรัฐบาลมีนโยบายในกา ...
    • การจัดการความรู้และสังเคราะห์แนวทางปฏิบัติของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล : แนวทางการดูแลรักษาภาวะซึมเศร้าและผู้มีความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย 

      อัมพร เบญจพลพิทักษ์; ลัดดา ดำริการเลิศ; ธรณินทร์ กองสุข; ธนเนตร ฉันทลักษณ์วงศ์; สุรพันธ์ ปราบกรี; พัชรินทร์ ศิริวิสุทธิรัตน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-11)
      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ให้ความสำคัญกับการวิจัยและพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ โดยเป็นแผนงานวิจัยหนึ่งที่ให้การสนับสนุนมาอย่างต่อเนื่อง มีสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (สพช.) เป็นกลไกสำคัญ เมื่อรัฐบาลมีนโยบายในกา ...
    • การจัดการความรู้และสังเคราะห์แนวทางปฏิบัติของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล : แนวปฏิบัติในการบริการผู้สูงอายุ 

      ลัดดา ดำริการเลิศ; วรรณภา ศรีธัญรัตน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-12)
      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ให้ความสำคัญกับการวิจัยและพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ โดยเป็นแผนงานวิจัยหนึ่งที่ให้การสนับสนุนมาอย่างต่อเนื่อง มีสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (สพช.) เป็นกลไกสำคัญ เมื่อรัฐบาลมีนโยบายในกา ...