Now showing items 1-20 of 27

    • Good Health Research Proposal 

      สุธี พานิชกุล (วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฏ, 2556-01-16)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการฝึกอบรมคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย ระดับเขตและจังหวัด โดยความร่วมมือระหว่างสำนักผู้ตรวจราชการประจำเขตตรวจราชการที่ 4 และสถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ วันที่ 16 -17 ...
    • R2R : ส่งเสริมการวิจัยบนพื้นฐานจริยธรรม 

      ปกรณ์ ศิริยง; Pakorn Siriyong (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2552-07-17)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย R2R : เพิ่มคุณค่า พัฒนาคน พัฒนาบริการ ครั้งที่ 2 ในหัวข้อ ห้องย่อยที่ 6 : สนทนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มุมมอง HA ที่มีต่อ R2R: ส่งเสริมการวิจัยบนพื้นฐานจริยธรรม ...
    • กฏนูเรมเบิร์ก 

      วิชัย โชควิวัฒน (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2552-08)
      กฏนูเรมเบิร์กเป็นหลักเกณฑ์จริยธรรมสากลสำหรับการวิจัยในมนุษย์ที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง โดยเป็นกฎเกณฑ์ที่เขียนขึ้นเพื่อป้องกันมิให้มีการละเมิดจริยธรรม เช่นที่เกิดขึ้นในกองทัพนาซี กฎดังกล่าวเขียนขึ้นขณะที่ทั่วโลกเฝ้า ...
    • กระบวนการขอความยินยอมจากอาสาสมัคร 

      กรกฏ จุฑาสมิต (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ และ สำนักผู้ตรวจราชการประจำเขตตรวจราชการที่ 4, 2556-01-16)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการฝึกอบรมคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย ระดับเขตและจังหวัด โดยความร่วมมือระหว่างสำนักผู้ตรวจราชการประจำเขตตรวจราชการที่ 4 และสถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ วันที่ 16 -17 ...
    • กลุ่มเปราะบาง (Vulnerable Groups) คือใคร มีข้อพิจารณาด้านจริยธรรมอย่างไร 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-01-16)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการฝึกอบรมคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย ระดับเขตและจังหวัด โดยความร่วมมือระหว่างสำนักผู้ตรวจราชการประจำเขตตรวจราชการที่ 4 และสถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ วันที่ 16 -17 ...
      Tags:
      Top hit
    • การจัดตั้งคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ ในโรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-06)
    • การทบทวนสถานการณ์ปัจจุบันของจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ : การศึกษากลไกการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ในกระทรวงสาธารณสุข (ส่วนกลาง) 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลไกการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์คือ คณะกรรมการการศึกษาวิจัยในคนในหน่วยงานส่วนกลางของกระทรวงสาธารณสุข โดยการทบทวนเอกสาร ใช้แบบสอบถาม และการสัมภาษณ์เจาะลึก ผลการศึกษาพบว่า ปัจจุบันส่วนราชการต่างๆ ...
    • การปฏิบัติตามแนวจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ของโครงการวิจัย 

      สาวิตรี เทียนชัย; Savitree Teanchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      การศึกษานี้เป็นส่วนหนึ่งของการทบทวนอย่างต่อเนื่องของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ เพื่อติดตามการปฏิบัติตามโครงการวิจัยที่ได้รับอนุมัติไปแล้ว ของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ ของสถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ ...
    • การประเมินความเสี่ยง/ประโยชน์ของโครงการวิจัย 

      กรกฏ จุฑาสมิต (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ และสำนักผู้ตรวจราชการประจำเขตตรวจราชการที่ 4, 2556-01-16)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการฝึกอบรมคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย ระดับเขตและจังหวัด โดยความร่วมมือระหว่างสำนักผู้ตรวจราชการประจำเขตตรวจราชการที่ 4 และสถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ วันที่ 16 -17 ...
    • การพัฒนาการกำกับดูแลข้อมูลและการติดตามความปลอดภัยโครงการวิจัยคลินิกของฟ้าทะลายโจรในผู้ป่วยโควิด-19 

      จันทรา กาบวัง เหล่าถาวร; Juntra Laothavorn; ธนา ขอเจริญพร; Thana Khawcharoenporn; ทิพวรรณ เลียบสื่อตระกูล; Tippawan Liabsuetrakul; รัตนวดี ณ นคร; Ratanavadee Na Nagara; ขวัญชนก ยิ้มแต้; Kwanchanok Yimtae (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-10)
      การขึ้นทะเบียนยาสมุนไพรเพื่อใช้ทางการแพทย์จำเป็นต้องมีสรรพคุณเฉพาะ (Specific Health Claim) หรือข้อบ่งใช้ (Clinical Indication) โดยมีหลักฐานผลการวิจัยทางคลินิกที่เป็นที่ยอมรับตามมาตรฐานสากล โดยมีการออกแบบการวิจัยในการพิสู ...
    • การศึกษาสถานะการขึ้นทะเบียนยาสามัญใหม่และศักยภาพในการลดค่าใช้จ่ายด้านยาหลังจากได้รับการอนุมัติการศึกษาชีวสมมูลโดยสำนักพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ 

      ชาฮีดา วิริยาทร; Shaheda Viriyathorn; พิสภาสินี พิศาลสินธุ์; Pispasinee Pisansin; ศลิษา ฤทธิมโนมัย; Salisa Rittimanomai; วริษฐา หวังบรรจงกุล; Waritta Wangbanjongkun; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12-19)
      การศึกษาชีวสมมูล (Bioequivalence Studies) ในมนุษย์เป็นการทดสอบความเท่าเทียมกันระหว่าง ยาสามัญและยาอ้างอิงในด้านอัตราและปริมาณของ Active Pharmaceutical Ingredient (API) ในบริเวณที่ต้องการให้เกิดฤทธิ์ของยา การศึกษาเช่นนี้ท ...
    • กุญแจสำเร็จสู่การเป็นกรรมการที่เป็นผู้แทนประชาชน (Key Highlights for Lay person) 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat; จันทรา เหล่าถาวร; Jantra Laothavorn; ขวัญชนก ยิ้มแต้; Kwanchanok Yimtae; พรรณทิพา ว่องไว; Phanthipha Wongwai; สุพัตรา ปรศุพัฒนา; Supatra Porasuphatana; ประทุม สร้อยวงค์; Pratum Soivong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566)
      หนังสือ กุญแจสำเร็จสู่การเป็นกรรมการที่เป็นผู้แทนประชาชน เล่มนี้ จัดทำขึ้นในโครงการพัฒนาศักยภาพของกรรมการจริยธรรมที่เป็นผู้แทนภาคประชาชน ครั้งที่ 1 โดยการสนับสนุนจากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) มีวัตถุประสงค์ ...
    • กุญแจสำเร็จสู่การเป็นกรรมการที่เป็นผู้แทนประชาชน (Key Highlights for Layperson) 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat; จันทรา เหล่าถาวร; Jantra Laothavorn; ขวัญชนก ยิ้มแต้; Kwanchanok Yimtae; พรรณทิพา ว่องไว; Phanthipha Wongwai; สุพัตรา ปรศุพัฒนา; Supatra Porasuphatana; ประทุม สร้อยวงค์; Pratum Soivong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566)
      หนังสือ กุญแจสำเร็จสู่การเป็นกรรมการที่เป็นผู้แทนประชาชน เล่มนี้ จัดทำขึ้นในโครงการพัฒนาศักยภาพของกรรมการจริยธรรมที่เป็นผู้แทนภาคประชาชน ครั้งที่ 1 โดยการสนับสนุนจากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) มีวัตถุประสงค์ ...
    • ก่อนจะมาเป็นการวิจัยที่ถูกทำนองคลองธรรม 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-05)
      เป้าหมายของการวิจัย คือ การสร้างความรู้ใหม่ หลักการของการวิจัย คือ จะต้องดำเนินการตามกฎเกณฑ์และวิธีการที่ถูกต้องตามหลักวิชาการทุกขั้นตอนตั้งแต่ต้นจนจบ ผลผลิตที่สำคัญของการวิจัย คือ ข้อมูล (Data) ที่เชื่อถือได้ คำว่า ...
    • ความเป็นมา หลักจริยธรรมการวิจัยในคน และ guidelines ต่างๆ 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2556-01-16)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการฝึกอบรมคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยระดับเขตและจังหวัด โดยความร่วมมือระหว่างสำนักผู้ตรวจราชการประจำเขตตรวจราชการที่ 4 และสถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ วันที่ 16 -17 ...
    • จริยธรรมกับการวิจัยในมนุษย์ 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      ในอดีตเคยมีการใช้มนุษย์เป็นหนูทดลองยา และวัคซีนหลายชนิด โดยไม่มีหลักประกันและความคุ้มครองสิทธิที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่นำมาศึกษา วิจัย และทดลองทางการแพทย์และสาธารณสุข. ผู้คนในสังคมทั่วไปหรือแม้แต่ผู้ป่วยจึงกลายเป็นหนูทดลอ ...
    • จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ (2) 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. สำนักพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์; Health Systems Research Institute. Institute for the Development of Human Research Protections (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      หลังจากหนังสือ "จริยธรรมการวิจัยในนุษย์" เล่มแรกตีพิมพ์เผยแพร่เมื่อเดือนสิงหาคม 2560 ผู้เขียนได้แปลเอกสารสำคัญที่เกี่ยวข้องกับจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์อีก 3 ฉบับ ได้แก่ 1) แนวทางจริยธรรมสากลสำหรับการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับส ...
    • ต้นแบบเพื่อจัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงานของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยเกี่ยวกับมนุษย์ กระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2561 

      สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. สำนักวิชาการสาธารณสุข; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-08)
      ภายใต้นโยบายไทยแลนด์ 4.0 ของรัฐบาลและการสนับสนุนงานวิจัยทางคลินิกของกระทรวงสาธารณสุข การดำเนินงานของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยเกี่ยวกับมนุษย์ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขต้องดำเนินการอย่างเป็นระบบและมีคุณภาพในระดับ ...
    • ปฏิญญาเฮลซิงกิของแพทยสมาคมโลก(ค.ศ.2000)หลักการจริยธรรมสำหรับการศึกษาวิจัยทางการแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ 

      วิชัย โชควิวัฒน; สุชาติ จองประเสริฐ (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2551-03)
      ปฏิญญาเฮลซิงกิเป็นหลักเกณฑ์จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางที่สุดทั่วโลก นับตั้งแต่ประกาศครั้งแรกโดยสมัชชาของแพทยสภาคมโลกที่กรุงเฮลซิงกิ ประเทศฟินแลนด์ เมื่อปี พ.ศ. 2507 ปฏิญญาดังกล่างมีการปรับปรุ ...
    • ประสิทธิศักย์และความปลอดภัยของสารสกัดฟ้าทะลายโจร เทียบกับการรักษามาตรฐานในการป้องกันการเกิดปอดอักเสบ ในผู้ติดเชื้อโควิด-19 ที่ไม่มีอาการหรือมีอาการน้อย : การทดลองแบบสุ่ม มีกลุ่มควบคุมและหลายสถานที่วิจัย 

      ธนะวัฒน์ วงศ์ผัน; Thanawat Wongphan; สิรภัทร ตุลาธรรมกิจ; Sirapat Tulatamakit; มยุรี ตั้งเกียรติกำจาย; Mayuree Tangkiatkumjai; เอนก มุ่งอ้อมกลาง; Anek Mungaomklang; ภาณุพงศ์ ตันติรัตน์; Panupong Tantirat; คุณสิริ เสริมศิริโภคา; Khunsiri Sermsiripoca; กุลธนิต วนรัตน์; Kulthanit Wanaratna; ดวงกมล นุตราวงค์; Duangkamol Nutrawong; เจตน์ วันแต่ง; Jate Wantang; ชวัลวลัย เมฆสวัสดิชัย; Chavanvalai Meksawasdichai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      การดูแลรักษาโรคผู้ป่วยโควิค-19 มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เนื่องจากมีความจำกัดของทรัพยากรและความรู้ ในช่วงแรกของการระบาด หนึ่งในทางเลือกของกระบวนการรักษาผู้ป่วย คือ ความพยายามรักษาอาการและลดจำนวนเชื้อ เพื่อไม่ให้เกิดความรุ ...