Browsing by Subject "กำลังคนด้านสุขภาพ"
Now showing items 1-20 of 46
-
กลไกการกำกับดูแลผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์ในประเทศไทย: สภาพการณ์ ปัญหา และข้อเสนอเพื่อการปฏิรูป
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)โครงการวิจัยนี้มุ่งแสวงหาคำตอบว่า ‘แพทยสภา’ ในฐานะกลไกการกำกับดูแลผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์ที่เป็นทางการของไทย สามารถทำหน้าที่ได้อย่างมีธรรมาภิบาล มีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผล สมดังเจตนารมณ์ในการกำกับควบคุมการประกอบวิชาชีพเ ... -
การคาดการณ์ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพในสองทศวรรษหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2540)การคาดการณ์ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพในสองทศวรรษหน้านำเสนอผลการศึกษาการคาดการณ์แนวโน้มระบบสาธารณสุข วิสัยทัศน์ และกลยุทธการพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ ตลอดจนการคาดการณ์ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพ ซึ่งเป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ ... -
การคาดการณ์ความต้องการและการวางแผนกำลังคนสำหรับระบบบริการทางการแพทย์ฉุกเฉิน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557)การเปลี่ยนแปลงบริบทของประเทศและนโยบายต่าง ๆ ส่งผลกระทบต่อกำลังคนของระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงด้านประชากรและระบาดวิทยา ส่งผลให้การเจ็บป่วยด้านอุบัติเหตุและฉุกเฉินเพิ่มมากขึ้น นอกจากนั้นยังมีนโยบายและแผนที่เกี่ยวข้อง ... -
การคาดการณ์อัตรากำลังเภสัชกรสาขาเภสัชกรรมโรงพยาบาลใน 20 ปี (พ.ศ. 2558-2578)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-03)การคาดการณ์อัตรากำลังเภสัชกรเป็นข้อมูลสำคัญในการวางแผนและจัดสรรอัตรากำลังเภสัชกร ประเทศไทยมีเภสัชกรทำงานในสาขาเภสัชกรรมโรงพยาบาลมากที่สุด การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคาดการณ์อัตรากำลังเภสัชกรสาขาเภสัชกรรมโรงพยาบาลใน 20 ... -
การจัดการทรัพยากรมนุษย์ในระบบยา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-08-15)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานระบบยาของประเทศไทย (ฉบับที่ 3) วันที่ 15-16 สิงหาคม พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชุมตันจง พาการ์ ชั้น 8 โรงแรมอัมรา กรุงเทพฯ -
การถอดบทเรียนการบริหารจัดการกำลังคนด้านการพยาบาลและสมรรถนะของพยาบาลเพื่อตอบสนองภาวะวิกฤตโควิด-19 ในระบบบริการทุติยภูมิและตติยภูมิ เขตสุขภาพที่ 10
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)ผู้ป่วย COVID-19 ที่เพิ่มมากขึ้นทำให้มีการขยายบริการสุขภาพ ซึ่งพยาบาลมีบทบาทสำคัญในการดูแลผู้ป่วยและบริการสุขภาพด้านอื่นๆ ทำให้มีการบริหารอัตรากำลังและพัฒนาสมรรถนะที่แตกต่างกันตามบริบทของโรงพยาบาล การวิจัยแบบถอดบทเรียนนี ... -
การทบทวนระบบการผลิตแพทย์ที่สอดคล้องกับระบบสุขภาพและความต้องการด้านสุขภาพของประชาชนภายใต้แผนงานพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550-09)ระบบการผลิตแพทย์นับเป็นปัจจัยหนึ่งที่สําคัญต่อมาตรการด้านอุปทาน(Supply Side) ในการวางแผนกําลังคนด้านสุขภาพของแพทย์ ท่ามกลางปัญหาการขาดแคลนกําลังคนด้านสุขภาพของแพทย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในชนบท ตลอดระยะเวลากว่า 10 ปีที่ผ่านมา ... -
การทบทวนสถานการณ์ระบบการสร้าง พัฒนาและจัดการบุคลากรด้านสาธารณสุขตามธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. 2552 และแนวโน้มในอนาคต
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-05-31)ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติเป็นเจตจำนงและพันธะร่วมกันของสังคม เพื่อให้ทุกภาคส่วนใช้เป็นกรอบและแนวทางในการกำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์และการดำเนินงานด้านสุขภาพของประเทศ ที่ทุกภาคส่วนใช้เป็นกรอบอ้างอิงในการจัดทำแผนโดยพระราช ... -
การบริหารจัดการโครงการผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบทและโครงการกระจายแพทย์หนึ่งอำเภอหนึ่งทุน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-06)การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบริหารจัดการโครงการผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบทและโครงการกระจายแพทย์หนึ่งอำเภอหนึ่งทุนโดยใช้การศึกษาเชิงคุณภาพ ประกอบด้วยการทบทวนเอกสาร การสัมภาษณ์เชิงลึกและการสัมภาษณ์กลุ่มผู้มีส ... -
การประชาเสวนาหาทางออกในการพัฒนาระบบการสร้างแรงจูงใจบุคลากรสาธารณสุข เพื่อความเป็นธรรมในระบบบริการสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-01)วัตถุประสงค์ คือ เพื่อศึกษาทบทวนทางเลือกของระบบการจ่ายค่าตอบแทนสำหรับบุคลากรสาธารณสุข เพื่อศึกษาวิเคราะห์ทางเลือกและประมวลผลเพื่อจัดทำภาพอนาคตของระบบการสร้างแรงจูงใจสำหรับบุคลากรสาธารณสุข และเพื่อใช้กระบวนการสานเสวนาหาทา ... -
การประชุมเชิงปฎิบัติการ สมรรถนะทางวัฒนธรรมในระบบสุขภาพ : องค์ความรู้สู่การวิจัยเชิงคุณภาพ
(สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ, 2557)วัตถุประสงค์ทั่วไป เพื่อสร้างเสริมสมรรถนะทางวัฒนธรรมให้กับบุคลากรสุขภาพ ให้เกิดความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรม เสริมให้เห็นมุมมองที่ละเอียดอ่อนในมิติของความเป็นมนุษย์และการดูแลรักษาผู้ป่วย ... -
การประเมินศักยภาพของระบบสุขภาพในความพร้อมรับมือการระบาดโรค COVID-19 ในพื้นที่ชายแดน จังหวัดเชียงราย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)การวิจัยแบบภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินศักยภาพของบุคลากรและระบบสุขภาพในการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรค COVID-19 ของหน่วยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงมหาดไทย ในพื้นที่อำเภอชายแดนจังหวัดเชียงราย คือ ... -
การพัฒนาประสิทธิภาพทางการคลังที่ยั่งยืนสำหรับระบบหลักประกันสุขภาพ และแบบจำลองการจัดสรรทรัพยากรกำลังคนด้านสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ 1) พื้นที่การคลังสาธารณสุข: ประมาณการช่องว่างในการกำหนดงบประมาณ (Fiscal Space) ของระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและระบบสาธารณสุข และ 2) การจัดสรรบุคลากร: ศึกษาช่องว่างอุปส ... -
การวิจัยเชิงสังเคราะห์ : การพัฒนาชุดตัวชี้วัดระบบสุขภาพ ติดตาม ประเมินผล เพื่อจัดทำรายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพไทย ตามพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 เรื่องกำลังคนด้านสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-12)จากธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2565 มีเป้าหมายในระยะ 5 ปี เพื่อให้มีการกระจายบุคลากรระหว่างพื้นที่มีความเป็นธรรม มีการปรับการทำงานจากเชิงกายภาพสู่ดิจิทัล และมีระบบการศึกษา การผลิต และการพัฒนากำลังคนด้ ... -
การวิจัยเพื่อสังเคราะห์ทางเลือก และข้อเสนอเชิงนโยบายในการวางแผนความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพของประเทศในทศวรรษหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-03)กำลังคนด้านสุขภาพ (Human Resources for Health) เป็นทรัพยากรที่มีความสำคัญในระบบสุขภาพ เป็นปัจจัยแห่งความสำเร็จหรือความล้มเหลวของการดำเนินงานด้านสุขภาพ เพราะเป็นทั้งผู้สร้างและผู้นำเทคโนโลยีด้านสุขภาพไปใช้ อีกทั้งเป็นผู้บ ... -
การวิเคราะห์งาน การจัดอัตรากำลัง และความก้าวหน้าของบุคลากรในระดับบริหารในหน่วยงานบริหารสาธารณสุขในส่วนภูมิภาค
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-06-30)รายงานฉบับนี้ จัดทำขึ้น เพื่อรายงานผลการดำเนินงานภายใต้โครงการการวิเคราะห์งาน การจัดอัตรากำลัง และความก้าวหน้าของบุคลากรในระดับบริหารในหน่วยงานบริหารสาธารณสุขในส่วนภูมิภาค (ระดับเขตบริการสุขภาพ จังหวัด และอำเภอ) ... -
การศึกษาการวางแผนความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพระดับจังหวัด
(สำนักงานวิจัยและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ, 2552)ผลการศึกษา ปัจจัยหลักที่เป็นข้อมูลพื้นฐานประกอบการวิเคราะห์ความต้องการกำลังคนได้แก่ข้อมูลประชากรและระบาดวิทยา โดยเห็นชัดว่าประชากรผู้สูงอายุมีสัดส่วนที่สูงขึ้น นอกนั้นสัดส่วนของการเจ็บป่วยเรื้อรังสูงตามมาด้วย ... -
การศึกษาทบทวนระบบข้อมูลด้านกำลังคนทางสุขภาพและศึกษาข้อมูลด้านกำลังคนทางสุขภาพที่เหมาะสม
(สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2551)การศึกษาทบทวนสถานการณ์ฐานข้อมูลกำลังคนด้านสุขภาพประเทศไทยและต่างประเทศครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ทราบสถานการณ์การจัดการฐานข้อมูลระดับประเทศที่มีอยู่ และรูปแบบข้อมูลของต่างประเทศที่มีการเผยแพร่ตาม Internet และสื่อต่างๆ ... -
การศึกษาประสบการณ์การปฏิรูปของประเทศออสเตรเลียในประเด็น : การประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ ระบบการฟ้องร้องเพื่อชดเชยความเสียหายที่เกิดขึ้นเนื่องจากการรับบริการสุขภาพ การมีส่วนร่วมของกลุ่มผู้บริโภค การพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ และข้อเสนอสำหรับประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)ประสบการณ์การปฏิรูปของประเทศออสเตรเลียในประเด็น:การประเมินเทคโนโลยีการแพทย์ ระบบการฟ้องร้องเพื่อชดเชยความเสียหายที่เกิดขึ้นเนื่องจากการรับบริการสุขภาพการมีส่วนร่วมของกลุ่มผู้บริโภค การพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ และข้อเสนอแนะ ...