เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "จริยธรรม--การวิจัย"
แสดงรายการ 1-5 จาก 5
-
การพัฒนาศักยภาพของกรรมการจริยธรรมที่เป็นผู้แทนภาคประชาชน (layperson) ระยะที่ 2
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-01)คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ที่เป็นผู้แทนภาคประชาชน คือบุคคลธรรมดาทั่วไป ที่โดยพื้นฐานการศึกษาจะไม่ใช่ผู้เชี่ยวชาญโดยเฉพาะทางด้านการแพทย์และการวิจัย เป็นผู้ที่สามารถสะท้อนมุมมองของคนทั่วไปในสังคม แต่ปัญหาหนึ่งในการ ... -
กุญแจสำเร็จสู่การเป็นกรรมการที่เป็นผู้แทนประชาชน (Key Highlights for Lay person)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566)หนังสือ กุญแจสำเร็จสู่การเป็นกรรมการที่เป็นผู้แทนประชาชน เล่มนี้ จัดทำขึ้นในโครงการพัฒนาศักยภาพของกรรมการจริยธรรมที่เป็นผู้แทนภาคประชาชน ครั้งที่ 1 โดยการสนับสนุนจากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) มีวัตถุประสงค์ ... -
กุญแจสำเร็จสู่การเป็นกรรมการที่เป็นผู้แทนประชาชน (Key Highlights for Layperson)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566)หนังสือ กุญแจสำเร็จสู่การเป็นกรรมการที่เป็นผู้แทนประชาชน เล่มนี้ จัดทำขึ้นในโครงการพัฒนาศักยภาพของกรรมการจริยธรรมที่เป็นผู้แทนภาคประชาชน ครั้งที่ 1 โดยการสนับสนุนจากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) มีวัตถุประสงค์ ... -
ก่อนจะมาเป็นการวิจัยที่ถูกทำนองคลองธรรม
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-05)เป้าหมายของการวิจัย คือ การสร้างความรู้ใหม่ หลักการของการวิจัย คือ จะต้องดำเนินการตามกฎเกณฑ์และวิธีการที่ถูกต้องตามหลักวิชาการทุกขั้นตอนตั้งแต่ต้นจนจบ ผลผลิตที่สำคัญของการวิจัย คือ ข้อมูล (Data) ที่เชื่อถือได้ คำว่า ... -
จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ (2)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)หลังจากหนังสือ "จริยธรรมการวิจัยในนุษย์" เล่มแรกตีพิมพ์เผยแพร่เมื่อเดือนสิงหาคม 2560 ผู้เขียนได้แปลเอกสารสำคัญที่เกี่ยวข้องกับจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์อีก 3 ฉบับ ได้แก่ 1) แนวทางจริยธรรมสากลสำหรับการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับส ...