Browsing by Subject "บริการปฐมภูมิ (การแพทย์)"
Now showing items 1-20 of 115
-
กลไกการประมวลสถานการณ์และการสนับสนุนงานวิชาการนโยบายและระบบสุขภาพ: กรณีการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไปยังองค์การบริหารส่วนจังหวัด
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-11)โครงการนี้มีจุดประสงค์ที่จะพัฒนารูปแบบหรือกลไกการสนับสนุนทางวิชาการ สำหรับการตัดสินใจประเด็นเชิงนโยบายที่มีความซับซ้อนมีผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่ายในระยะเวลาที่จำกัด โดยในโครงการนี้จะใช้ประเด็นการถ่ายโอนภารกิจสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ ... -
การขับเคลื่อนการบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานและการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิขององค์การบริหารส่วนจังหวัด: กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01)งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความพร้อมของระบบสุขภาพปฐมภูมิขององค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่นที่รับถ่ายโอนภารกิจการจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในพื้นที่กรณีศึกษา โดยตัวแบบนั้นต้องครอบคลุม ... -
การขับเคลื่อนการบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานและการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิขององค์การบริหารส่วนจังหวัด: กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น (ข้อเสนอเชิงนโยบาย)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01)ข้อเสนอเชิงนโยบาย (Policy Brief) การขับเคลื่อนการบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานและการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิขององค์การบริหารส่วนจังหวัด: กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น มีวัตถุประสงค์เพื่อ ... -
การคลังสุขภาพในระบบสุขภาพปฐมภูมิ: ยกระดับหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)ระบบสุขภาพปฐมภูมิเป็นปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งในการจัดประเภทระบบสุขภาพของประเทศต่างๆ เนื่องจากถ้ามีระบบสุขภาพปฐมภูมิที่ดี ประเทศจะสามารถควบคุมรายจ่ายด้านสุขภาพโดยรวม มีบริการที่มีคุณภาพ ได้ผลลัพธ์ทางสุขภาพสูง รวมทั้งแก้ปัญหา ... -
การจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิยุคนโยบายสามหมอในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)ประชาชนไทยได้รับบริการสุขภาพปฐมภูมิแบบองค์รวมมาอย่างต่อเนื่อง การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินสถานการณ์บริการสุขภาพปฐมภูมิและระบุปัจจัยที่มีผลต่อการจัดบริการตามระบบสุขภาพที่พึงประสงค์ 7 ด้าน ได้แก่ การจัดบริการสุขภาพ ... -
การจัดระบบดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางไตสำหรับหน่วยบริบาลปฐมภูมิ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)โรคไตเสื่อมเรื้อรัง (Chronic kidney disease, CKD) เป็นโรคที่มีความสำคัญต่อระบบสาธารณสุขของประเทศไทยและนานาชาติ เนื่องจากจำนวนผู้ป่วยที่เป็นโรคไตเรื้อรังมาก และมีการดำเนินของโรคจนเข้าสู่ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ต้องได้ร ... -
การติดตามประเมินผลการจัดระบบบริการสุขภาพผู้สูงอายุติดเตียง และพึ่งพิงระดับปฐมภูมิ ภายหลังการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไปยังองค์การบริหารส่วนจังหวัด
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-12)งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาวิจัยแบบผสมผสาน (mixed methods research) โดยใช้รูปแบบความสอดคล้องคู่ขนาน (convergent parallel design) วัตถุประสงค์เพื่อติดตามประเมินผลการจัดระบบบริการสุขภาพของผู้สูงอายุติดเตียงและพึ่งพิง ระดับปฐมภูมิ ... -
การถอดบทเรียนการดำเนินนโยบายคนไทยทุกครอบครัว มีหมอประจำตัว 3 คน ใน 4 จังหวัดของประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-08)นโยบายคนไทยทุกครอบครัวมีหมอประจำตัว 3 คน หรือนโยบายสามหมอ เริ่มในปี พ.ศ. 2563 โดยมุ่งเป้าให้คนไทยมีหมอดูแลสุขภาพประจำครอบครัวตั้งแต่ในหมู่บ้าน สถานีอนามัย หรือ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและโรงพยาบาล ทั้งโรงพยาบาลชุมชนใน ... -
การถอดบทเรียนเส้นทางการรับบริการสุขภาพของผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ในเขตสุขภาพที่ 9
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อถอดบทเรียนเส้นทางการรับบริการสุขภาพของผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโควิด–19 ในเขตสุขภาพที่ 9 โดยการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods) เริ่มต้นด้วยวิธีการศึกษาเชิงคุณภาพ (Qualitative Method) ... -
การทบทวนสถานการณ์งานวิจัย ด้านการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ เขตภาคใต้
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-03)จากการทบทวนงานวิจัยที่เกี่ยวกับการบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในภาคใต้ของประเทศไทย ตั้งแต่ พ.ศ. 2544 จนถึงปัจจุบัน จากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพ จำนวน 400 เรื่อง โดยจากการสืบค้นข้อมูลจากฐานข้อมูล Thai list ... -
การทบทวนสถานการณ์งานวิจัยด้านการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ เขตกรุงเทพมหานคร
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-03)การทบทวนสถานการณ์ระบบบริการปฐมภูมิในเขตกรุงเทพมหานครใน 5 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 เรื่องศูนย์บริการสาธารณสุขและสาขา ส่วนที่ 2 เรื่องร้านยา ส่วนที่ 3 เรื่องคลินิกเอกชน ส่วนที่ 4 เรื่ององค์การพัฒนาเอกชนที่ทำงานด้านสาธารณสุข ส่วนที่ ... -
การทบทวนสถานการณ์งานวิจัยด้านการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ เขตภาคตะวันออก
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-03)การทบทวนสถานการณ์งานวิจัยด้านการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ เขตภาคตะวันออก มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับบริการปฐมภูมิในเขตภาคตะวันออกเพื่อให้เห็นภาพรวมของการจัดบริการที่ผ่านมา สถานการณ์กําลังคน ... -
การทบทวนสถานการณ์งานวิจัยด้านการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ เขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-03)การศึกษาสถานการณ์บริการระดับปฐมภูมิในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์,รูปแบบการบริการ, ระบบการสนับสนุน, มุมมองของผู้รับบริการ, และการประเมินผล การบริการระดับปฐมภูมิในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ... -
การทบทวนสถานการณ์งานวิจัยด้านการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ เขตภาคเหนือ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-03)การทบทวนงานวิจัยด้านการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิเขตภาคเหนือ เป็นการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 จนถึงปัจจุบัน โดยสืบค้นจากฐานข้อมูลทรัพยากรสารนิเทศห้องสมุด ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ ฐานข้อมูลงานวิจัยอิเล็กทรอนิกส์ของมหาวิทย ... -
การทบทวนสถานการณ์งานวิจัยหมวดบริการ (รูปแบบบริการ/บทบาทหน่วยบริการ)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-03)การทบทวนงานวิจัยระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิหมวดบริการ (รูปแบบ/บทบาทหน่วยบริการ) ในช่วง พ.ศ. 2545 – 2550 ต้องการทราบสถานการณ์และรูปแบบของการจัดบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในประเทศไทย เพื่อใช้เป็นข้อมูลเชิงประจักษ์ในการวางแผน ... -
การบริหารจัดการกำลังคนของสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินีและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล กรณีถ่ายโอนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยใช้กลไกพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-08)การศึกษาวิจัยเรื่องการบริหารจัดการกำลังคนของสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี (สอน.) และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) กรณีถ่ายโอนไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) โดยใช้กลไกพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ ... -
การประเมินการดำเนินการเพิ่มศักยภาพเครือข่ายระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ เพื่อให้การดูแลผู้ป่วยโควิด-19 ที่บ้าน ในช่วงเวลาที่เกิดวิกฤติระบบสุขภาพในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งเป็นโรคอุบัติใหม่ ช่วงกลางปี พ.ศ. 2564 นำไปสู่ปัญหาวิกฤติระบบสุขภาพในกรุงเทพมหานครที่ผู้ป่วยหนักไม่สามารถเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล ราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ ... -
การประเมินความเป็นไปได้และการยอมรับองค์กรเครือข่ายสุขภาพเพื่อการจัดระบบบริการทางการแพทย์ในระบบประกันสังคม: การวิจัยเชิงนโยบาย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)องค์กรเครือข่ายสุขภาพ (health maintenance organizations: HMO) เป็นรูปแบบหนึ่งที่น่าสนใจในการตอบโจทย์การพัฒนาระบบบริการทางการแพทย์ของสำนักงานประกันสังคม จึงต้องมีการศึกษาความเป็นไปได้และแนวโน้มการยอมรับของผู้มีส่วนได้ส่วน ... -
การประเมินสถานการณ์ของการบริการปฐมภูมิในเขตกรุงเทพมหานครด้วยการศึกษา Ambulatory care sensitive conditions
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-02)Ambulatory Care Sensitive Conditions (ACSC) เป็นกลุ่มโรคหรือภาวะซึ่งหากได้รับการดูแลรักษาแบบผู้ป่วยนอกที่เหมาะสมแล้ว จะสามารถป้องกันการนอนพักรักษาตัวในโรงพยาบาลโดยไม่จำเป็นได้ การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินสถาน ... -
การประเมินสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวมกับทิศทางการเปลี่ยนแปลงระบบการบริการปฐมภูมิสำหรับผู้สูงอายุในปัจจุบัน
(สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2552-06)