• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) 
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "ยาปฏิชีวนะ"

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 1-20 จาก 56

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • 3 โรครักษาได้ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ 

      ศศิมา ดำรงสุกิจ (2551-03)
    • HSRI-FORUM ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 : เชื้อดื้อยาปฏิชีวนะ วิกฤตและทางออกของสังคมไทย 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      สำหรับฉบับนี้ ถือเป็นฉบับที่ 1 ประจำเดือนมิถุนายน 2555 ที่มาพร้อมกับสาระความรู้ที่เข้มข้น ซึ่งจะได้นำมาแบ่งปันกันในฉบับนี้ โดยเมื่อปลายเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ร่วมกับ กระทรวงสาธารณสุข ...
    • การกระจายและการใช้ยาปฏิชีวนะของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คลินิก และร้านยา 

      นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; Nithima Sumpradit; เสาวลักษณ์ ฮุนนางกูร; Saowalak Hunnangkul; ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsai; วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      ความไม่สอดคล้องระหว่างรายการยาปฏิชีวนะที่มีใช้ในหน่วยบริการ กับศักยภาพการให้บริการของหน่วยบริการ อาจทำให้เกิดการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตุผล อันจะส่งผลต่อการเกิดเชื้อดื้อยา การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการกระจายแล ...
    • การขยายมาตรการสนับสนุนและส่งเสริมการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสมในโรงพยาบาลในประเทศไทย 

      ภิญโญ รัตนาอัมพวัลย์; Pinyo Rattanaumpawan; พรพรรณ กู้มานะชัย; Pornpan Koomanachai; รุจิภาส สิริจตุภัทร; Rujipas Sirijatuphat; วลัยพร วังจินดา; Walaiporn Wangchinda (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03-15)
      การติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย ในปี ค.ศ. 2015 องค์การอนามัยโลกแนะนำให้ใช้ Global Antimicrobial Resistance Surveillance System (GLASS) และดำเนินการส่งเสริมการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสม ...
    • การจัดทำทิศทางและโจทย์วิจัยเพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบยาแห่งชาติ 

      ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sriphan Tantiwet; สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong; พักตร์วิภา สุวรรณพรหม; Puckwipa Suwannaprom; ศิริตรี สุทธจิตต์; Siritree Suttajit; อัญชลี จิตรักนที; Anchalee Jitraknatee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      แผนงานวิจัยและพัฒนาระบบยา สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ถูกจัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2552 และให้การสนับสนุนทุนวิจัยรวมทั้งจัดการงานวิจัยอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากสถานการณ์ในระบบยาของประเทศและปัจจัยแวดล้อม ...
    • การดำเนินงานชุดโครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทยตามแผนปฏิบัติการการดื้อยาต้านจุลชีพขององค์การอนามัยโลก 

      วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul; ภิญโญ รัตนาอัมพวัลย์; Pinyo Rattanaumpawan; อธิรัฐ บุญญาศิริ; Adhiratha Boonyasiri; รุจิภาส สิริจตุภัทร; Rujipas Sirijatuphat; ศศิ เจริญพจน์; Sasi Jaroenpoj (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      โครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทยได้ดำเนินการ 10 กิจกรรม ในการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพตามแผนปฏิบัติการการดื้อยาต้านจุลชีพขององค์การอนามัยโลก ได้แก่ 1) ประมาณการขนาดปัญหาการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ...
    • การทบทวนเอกสารวิชาการ บทเรียนการแก้ไขปัญหาเชื้อดื้อยาในประเทศต่างๆ 

      นิธิมา สุ่มประดิษฐ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-04)
      การควบคุมหรือแก้ไขปัญหาเรื่องเชื้อดื้อยาได้มีการหารือในระดับนานาชาติ เช่น ในการประชุม World Health Assembly (WHA) ในปี 1998 ที่ประชุมได้มี resolution กระตุ้นให้ประเทศสมาชิกดำเนินการแก้ปัญหาเรื่องเชื้อดื้อยา ในปี 2000 ...
    • การทบทวนเอกสารวิชาการสถานการณ์เชื้อดื้อยาในนานาประเทศ : สถานการณ์การใช้ยาปฏิชีวนะและเชื้อดื้อยา ระบบติดตามเฝ้าระวัง และการควบคุม 

      ศิริตรี สุทธจิตต์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-04)
      โรคติดเชื้อยังคงเป็นปัญหาสำคัญของมนุษย์ในปัจจุบัน ทั้งในแง่อุบัติการณ์การเกิดโรคและการเป็นสาเหตุการเสียชีวิต โดยมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นโดยเฉพาะในประชากรกลุ่มเสี่ยง เช่น ผู้สูงอายุซึ่งมีจำนวนมากขึ้น ผู้ป่วยที่มีภูมิต้านทานต่ำ ...
    • การประเมินการกระจายแนวคิดและบรรทัดฐานของสังคมเกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล 

      สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong; พัชรี ดวงจันทร์; Patcharee Duangchan; กัญญดา อนุวงศ์; Kunyada Anuwong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03)
      นับตั้งแต่เริ่มดำเนินโครงการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล (ASU) เมื่อปี 2550 เป็นต้นมา ASU ยังคงมีการดำเนินอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน มีสถานพยาบาลที่ดำเนินโครงการนี้เพิ่มมากขึ้นในแต่ละปี ภายใต้ความร่วมมือของภาค ...
    • การประเมินการดำเนินงานระยะครึ่งแผนตามแผนยุทธศาสตร์การจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564 

      วิลาวรรณ ล้วนคงสมจิตร; Vilawan Luankongsomchit; ธนพร บุษบาวไล; Thanaporn Bussabawalai; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      ในปี พ.ศ. 2559 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบต่อ “แผนยุทธศาสตร์การจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564” ซึ่งถือเป็นแผนยุทธศาสตร์ฉบับแรกของประเทศไทยที่มีขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาการดื้อยาต้านจุลชีพเป็นการเฉพาะ และต่อมาในปี ...
    • การผนวกกลไกการติดตามและประเมินความรู้และความตระหนักของประชาชนเกี่ยวกับแบคทีเรียดื้อยาต้านจุลชีพเข้าสู่การสำรวจอนามัยและสวัสดิการ 

      สุณิชา ชานวาทิก; Sunicha Chanvatik; อังคณา สมนัสทวีชัย; Angkana Sommanustweechai; พรรัชดา มาตราสงคราม; Pohnratchada Mattrasongkram; วรณัน วิทยาพิภพสกุล; Woranan Witthayapipopsakul; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; อภิชาติ ธัญญาหาร; Apichart Thunyahan; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      การดื้อยาต้านจุลชีพ (antimicrobial resistance: AMR) เป็นปัญหาระดับโลกที่คุกคามต่อความมั่นคงด้านสาธารณสุขและด้านเศรษฐกิจ มีการคาดการณ์ว่า หากไม่มีการแก้ไขปัญหานี้อย่างจริงจัง ในอีก 33 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2593) จะมีผู้เสียชีว ...
    • การวิจัยและพัฒนาการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ระยะที่ 2 : บทความวิชาการ 

      วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      รวมบทความวิชาการ ภายใต้ชุดโครงการวิจัยและพัฒนาการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ระยะที่ 2
    • การวิจัยและพัฒนาการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ระยะที่ 3 : บทความวิชาการ 

      วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      บทความวิชาการ ภายใต้ชุดโครงการวิจัยและพัฒนาการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ระยะที่ 3
    • การวิเคราะห์พลวัตระบบของปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในภาคประชาชน รูปแบบระดับจังหวัด : กรณีศึกษาจังหวัดนครนายก 

      อิสรีย์ฐิกา ชัยสวัสดิ์ จันทร์ส่องสุข; Isareethika Jayasvasti Chantarasongsuk; นิภาพร เอื้อวัณณะโชติมา; Nipaporn Urwannachotima; พาสน์ ทีฆทรัพย์; Pard Teekasap (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-10)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบความสัมพันธ์ของปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลของภาคประชาชนด้วยแนวคิดของระบบที่ซับซ้อนและมีการเปลี่ยนแปลงตามเวลาโดย 1) การสร้างวงจรความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ ...
    • การวิเคราะห์สถานการณ์กำลังคนด้านการจัดการเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในโรงพยาบาล 

      สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong; ลือรัตน์ อนุรัตน์พานิช; Luerat Anuratpanich; วีรวัฒน์ มโนสุทธิ; Weerawat Manosuthi; นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; Nithima Sumpradit; วิศัลย์ มูลศาสตร์; Visal Moolasart; วราภรณ์ เทียนทอง; Varaporn Thienthong; ฐิติพงษ์ ยิ่งยง; Thitipong Yingyong; วันทนา ปวีณกิตติพร; Wantana Paveenkittiporn; พิทักษ์ สันตนิรันดร์; Pitak Santanirand; สุกัญญา นำสวัสดิ์; Sukanya Numsawad (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนสถานการณ์กำลังคนด้านการจัดการเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพทั้งในและต่างประเทศ ศึกษาอุปสงค์และอุปทานของกำลังคนด้านการจัดการเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ และคาดการณ์กำลังคนการจัดการเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ...
    • การศึกษาการปนเปื้อนและการควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อดื้อยาปฏิชีวนะจากแหล่งกำเนิดน้ำเสียประเภทโรงพยาบาลและฟาร์มสุกร 

      วิไล เจียมไชยศรี; Wilai Chiemchaisri; ชาติ เจียมไชยศรี; Chart Chiemchaisri; พิษณุ ตุลยกุล; Phitsanu Tulayakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-10)
      โครงการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ศึกษาการปนเปื้อนและการควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อดื้อยาปฏิชีวนะจากแหล่งกำเนิดน้ำเสียประเภทโรงพยาบาลและฟาร์มสุกร โดยการศึกษาในฟาร์มสุกร มีการทำแบบสอบถามและเก็บตัวอย่างสิ่งแวดล้อมจากฟาร์มสุกร 4 ...
    • การศึกษาการปนเปื้อนและแพร่กระจายของเชื้อ Acinetobacter baumannii ที่ดื้อยาหลายขนานในหอผู้ป่วยเด็กวิกฤตเด็กและหอผู้ป่วยวิกฤตทารกแรกเกิด 

      นนทพรรณ ผาสุก; Nonthapan Phasuk; เอื้อมพร หมวดเมือง; Auemphon Mordmuang; ชลธิชา รมยะสมิต; Chonticha Romyasamit; กุลวดี กาญจนะ; Kulwadee Karnjana; จันทมณี จิ้วบุญชู; Juntamanee Jewboonchu (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      เชื้อ Acinetobacter baumannii (A. baumannii) เป็นแบคทีเรียแกรมลบที่เป็นสาเหตุสำคัญของโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล (nosocomial infection) การติดเชื้อ A. baumannii ในโรงพยาบาลเป็นปัญหาสำคัญทั่วโลกรวมทั้งในประเทศไทย เนื่องจากเชื้ ...
    • การศึกษาระบาดวิทยาและการควบคุมของเชื้ออซีเนโตแบคเตอร์ บอมมานิไอและเอนเทอโรแบคทีเรียซีอี ที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะคาร์บาพีเนม ในเครือข่ายโรงพยาบาลภาคใต้ตอนล่าง 

      ศรัญญู ชูศรี; Sarunyou Chusri; วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์; Virasakdi Chongsuvivatwong; ขจรศักดิ์ ศิลปโภชากุล; Khachornjakdi Silpapojakul; ธนภร หอทิวากุล; Thanaporn Hortiwakul; บุญศรี เจริญมาก; Boonsri Charoenmak; รัตนรุจิ พุ่มวิเศษ; Rattanaruji Pomwised (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-08)
      บทนำ การติดเชื้อแบคทีเรียที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะเป็นปัญหาสำคัญในระดับชาติ โดยเฉพาะกับผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล และที่สำคัญพบว่าผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อจะมีอัตราการเสียชีวิตสูง มีระยะเวลาในการครองเตียงเพื่อรักษาเป็นเวลานาน ...
    • การสังเคราะห์ช่องว่างทางความรู้ด้านเชื้อดื้อยาในคน สัตว์ และสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย 

      วสันต์ กาติ๊บ; Wasan Katip; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; ดวงพร พิชผล; Duangporn Pichpol; ทองกร มีแย้ม; Tongkorn Meeyam; อุษณีย์ อนุกูล; Usanee Anukool (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-12)
      ยาต้านจุลชีพ (Antimicrobial Medicines) โดยเฉพาะอย่างยิ่งยาต้านจุลชีพที่มีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อแบคทีเรีย มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการแพทย์และการสาธารณสุข เนื่องจากใช้เพื่อป้องกันและรักษาโรคที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย ...
    • การสั่งใช้ยาปฏิชีวนะในผู้ป่วยโรคท้องร่วงเฉียบพลันที่โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชปัว จังหวัดน่าน 

      อดิศักดิ์ วงค์ใน; Adisak Wongnai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-06)
      โรคท้องร่วงเฉียบพลันเป็นโรคที่พบบ่อยในเวชปฏิบัติ ถึงแม้ว่าสาเหตุส่วนใหญ่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียแต่ผู้ป่วยก็มักจะได้รับยาปฏิชีวนะ วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้คือเพื่อศึกษาการสั่งใช้ยาปฏิชีวนะในผู้ป่วยโรคท้องร ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [621]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1292]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [234]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV