Now showing items 1-2 of 2

    • การพัฒนารูปแบบการบำบัดและฟื้นฟูสมรรถภาพแบบบูรณาการของการเสพแอมเฟตามีน/กัญชาในวัยรุ่นในระดับจังหวัด 

      วัชรา ริ้วไพบูลย์; Wachara Riewpaiboon; ธีรศักดิ์ ศรีสุรกุล; Teerasak Srisurakul; ธิดารัตน์ นงค์ทอง; Tidarat Nongthong; ดรุณี ภู่ขาว; Darunee Phukao; ธีรนงค์ สกุลศรี; Teeranong Sakulsri; ดวงดาว ศรียากูล; Duangdao Sriyakun; สมยศ แสวงสุข; Somyot Savangsuk; นภาพร สันทบ; Napaporn Suntop; กรรณิการ์ สุจริตจันทร์; Kannikar Sujaritjan; ญานิกา ศรียากูล; Yanika Sriyakun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-05)
      จากสถานการณ์การใช้สารเสพติดในเยาวชนในโรงเรียนที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นและพบในเยาวชนที่มีอายุน้อยลงไปเรื่อยๆ จนถึงพบได้ในเยาวชนอายุ 12 ปี ซึ่งส่งผลกระทบต่อสุขภาพและชีวิตในอนาคต รวมทั้งสังคมโดยรวม ทั้งนี้ ประเทศไทยมีกฎหมายและนโยบายต่างๆ ...
    • ผลของโปรแกรมกลุ่มบำบัดแบบการยอมรับและสร้างพันธะสัญญาเพื่อบ่มเพาะความยืดหยุ่นในชีวิตและความตั้งใจในการเลิกเสพสารเสพติดในเยาวชนที่ใช้สารเสพติด 

      จิณห์จุฑา ชัยเสนา ดาลลาส; Jinjutha Chaisena Dallas; ดวงใจ วัฒนสินธุ์; Duangjai Vatanasin; สายฝน ม่วงคุ้ม; Saifone Moungkum; พรชัย จูลเมตต์; Pornchai Jullamate; เวทิส ประทุมศรี; Watis Pratumsri; มนตรี ขุนอินทร์ทอง; Montree Khuniontrtong; ภาคินี เดชชัยยศ; Pakinee Detchaiyot; สาวิตรี วงศ์อินจันทร์; Sawitree Wonginjun; ศรวิษฐ์ บุญประชม; Sawrawit Boonprachom; สาวิตรี หลักทอง; Sawitree Lakthong; วัชรา ตาบุตรวงศ์; Watchara Tabootwong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07)
      การดูแลที่สำคัญในเยาวชนผู้ใช้สารเสพติดในระยะฟื้นฟู คือ การเพิ่มความยืดหยุ่นในชีวิต สร้างภูมิคุ้มกันภายในจิตใจ เพื่อป้องกันการกลับไปใช้สารเสพติดซ้ำ การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมกลุ่มบำบัดแบบการย ...