• 12 นวัตกรรมการแพทย์: 12 ผลงานวิจัยไทย เพื่อคุณภาพชีวิตคนไทย 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562)
      การเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง สิ่งแวดล้อม รวมถึงเรื่องการรักษาโรคติดเชื้ออุบัติใหม่ โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และปัญหาสุขภาพกายและจิตที่มีเพิ่มมากขึ้น ขณะที่เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทสำคัญกับสุขภาพเช่นกัน นี่คือจุดเริ ...
    • 2 ทศวรรษ : บทเรียนการจัดการงานวิจัยระบบสุขภาพ 

      คณิตสรณ์ สัมฤทธิ์เดชขจร; รุจินาถ อรรถสิษฐ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-04)
      โครงการศึกษาบทเรียนการจัดการงานวิจัยระบบสุขภาพนี้ ริเริ่มโดยนายแพทย์พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข ผู้อำนวยการ สวรส.คนปัจจุบัน ด้วยมีความเห็นว่า สวรส.มีวิสัยทัศน์ คือ “การจัดการความรู้สู่ระบบสุขภาพที่เป็นธรรมและยั่งยืน” อีกทั้ง ...
    • Lit the FHIR in Thailand By SIL-TH 

      รัฐ ปัญโญวัฒน์; Rath Panyowat; กวิน สิริกวิน; Kwin Sirikwin; ธนภพ ณ นครพนม; Thanaphop Na Nakhonphanom; ณัฐดนัย ไทยพิพัฒน์; Natdanai Thaipipat; ศุภฤกษ์ ถวิลลาภ; Supharerk Thawillarp (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      มาตรฐาน Health Level 7 Fast Health Interoperability Resources (HL7 FHIR) เป็นมาตรฐานข้อมูลสุขภาพในกลุ่ม structural and syntactic data standard ที่ได้รับการยอมรับและหลายประเทศกำหนดให้เป็นมาตรฐานข้อมูลสุขภาพของประเทศ เช่น ...
    • กระบวนการมีส่วนร่วมของครอบครัวในการเกื้อหนุนด้านการใช้ยาของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง 

      ชไมพร กาญจนกิจสกุล; Chamaiporn Kanchanakijsakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-12)
      วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้ คือ เพื่อศึกษากระบวนการมีส่วนร่วมของครอบครัวใน การเกื้อหนุนด้านการใช้ยาของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง และเพื่อสร้างคู่มือว่าด้วยครอบครัว กับการเกื้อหนุนด้านการใช้ยาในผู้สูงอายุที่ป่วยด้ว ...
    • กลไกการใช้ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ และด้านการเงินและบัญชี เพื่อการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและระดับจังหวัด และประเมินระบบสุขภาพของจังหวัด 

      ศศิธร ธนะภพ; Sasithon Tanapop; อรทัย เขียวเจริญ; นิลวรรณ อยู่ภักดี; พารุณี ยิ้มสบาย; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย (สถาบันวิจัยระบบสาธาณสุข, 2549)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำฐานข้อมูลสุขภาพประชาชนรายบุคคลภายในจังหวัด เชื่อมโยงระหว่างความจำเป็นทางสุขภาพและการใช้บริการสุขภาพของประชากร รวมทั้งพัฒนาบุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่ในด้านซื้อบริการสุขภาพที่ระดับจังหวัด ...
    • การคาดประมาณภาระโรคของประเทศไทยระหว่าง พ.ศ. 2552 - 2572 

      โครงการภาระโรคและปัจจัยเสี่ยงของประเทศไทย; สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (แผนงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2553-08)
      รายงานการคาดประมาณภาระโรคของประเทศไทยระหว่าง พ.ศ. 2552-2572 แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 การสร้างแบบจำลอง และคาดการณ์การตายในประเทศไทย โดยใช้วิธี Multivariate multiple regression สำหรับการตายทุกสาเหตุ และการตายรายกลุ่มสาเหตุ ...
    • การจัดการทางการแพทย์ในการรับมือเหตุรุนแรงจากความไม่สงบทางการเมืองในวันที่ 29 สิงหาคม และ 2 กันยายน 2551 

      กัมพล อำนวยพัฒนพล; อารักษ์ วิบุลผลประเสริฐ; พงศกร อธิกเศวตพฤทธิ์ (สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ, 2551)
      ในอดีต ประเทศไทยมีเหตุภัยพิบัติเกิดขึ้นหลายครั้ง ไม่ว่าจะเป็นภัยพิบัติทาง ภัยจากน้ำมือมนุษย์ และโดยเฉพาะภัยพิบัติที่เกิดจากการเมือง (Civil disaster) ที่แม้จะเกิดขึ้นหลายครั้งแต่ก็ยังส่งผลให้ความสูญเสียมากมาย การตอบสนองทา ...
    • การจัดการสุขภาพของประชาชนในสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ 

      สะแลแม อาแวนิ; มูฮาหมัดโยฮัน วารัม; รอซาลี สารีเดะ; มูฮัมมัดเฟาซี ลาเต๊ะ; อับดุลตอเละ จะปะกียา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-06)
      การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การจัดการสุขภาพของประชาชนในระดับปัจเจกบุคคล ครอบครัวและชุมชน 2) เงื่อนไขที่มีผลต่อการจัดการสุขภาพของประชาชนในพื้นที่สถานการณ์ความไ ...
    • การจัดตั้งระบบเฝ้าระวังกลุ่มโรคพิการแต่กำเนิดชนิดหลอดประสาทไม่ปิด 

      ภาสุรี แสงศุภวานิช; Pasuree Sangsupawanich; ธรรมสินธ์ อิงวิยะ; Thammasin Ingviya; บัณฑิต ถิ่นคำรพ; Bandit Thinkhamrop (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      กลุ่มโรคพิการแต่กำเนิดชนิดหลอดประสาทไม่ปิด (Neural Tube Defects, NTDs) เป็นกลุ่มพิการแต่กำเนิดซึ่งมีความรุนแรงมากและทำให้เกิดการพิการตลอดชีวิตได้ การเสริมกรดโฟลิกในอาหารเป็นวิธีการหนึ่งซึ่งอาจป้องกันโรคนี้ได้ จึงเกิดคำถา ...
    • การจัดทำชุดตัวชี้วัดสุขภาพแห่งชาติ 

      พิมลพรรณ อิศรภักดี; อุไรวรรณ คนึงสุขเกษม; รศรินทร์ เกรย์; พอตา บุญยตีรณะ (สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, 2553)
      รายงานการจัดทำชุดตัวชี้วัดสุขภาพแห่งชาติ (National Health Indicators) มีเป้าหมายการดำเนินงานเพื่อพัฒนาชุดตัวชี้วัดสุขภาพแห่งชาติที่เป็นมาตรฐานและพัฒนาเครือข่ายที่เป็นกลไกผลักดันดัชนีสุขภาพแห่งชาติสู่การไปใช้ในระดับนโยบาย ...
    • การจัดทำระบบฐานข้อมูลและทดลองใช้เครื่องมือมาตรฐาน รายงานต้นทุน (Standard Cost Report) ของสถานพยาบาลในพื้นที่นำร่อง 

      ไอลดา สุขนาค; I-lada Sooknark; ครรชิต สุขนาค; Kanchit Sooknark (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)
      โครงการนี้ดำเนินการตามข้อเสนอคณะทำงานขับเคลื่อนความเพียงพอและความยั่งยืนของงบประมาณ เป็นการปรับปรุงการจัดทำบัญชีต้นทุนสถานพยาบาล เป็นมาตรการ Prerequisite ระยะสั้นของคณะทำงานขับเคลื่อนความเพียงพอและความยั่งยืนของงบประมาณภ ...
    • การจัดทำระบบทะเบียนผู้ป่วยผื่นแพ้ยาชนิดรุนแรงแบบสหสถาบันแบบครบวงจร (ปีที่ 1) 

      เจตทะนง แกล้วสงคราม; Jettanong Klaewsongkram (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-06)
      โครงการวิจัยในปีที่ 1 นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำระบบทะเบียนผู้ป่วยผื่นแพ้ยาชนิดรุนแรงแบบสหสถาบันในประเทศไทยและประเมินความสามารถในการวินิจฉัยยืนยันชนิดของยาที่เป็นสาเหตุด้วยการใช้ Interferon-Gamma ELISpot Assay (IFN-γ ...
    • การจัดทำระบบทะเบียนผู้ป่วยผื่นแพ้ยาชนิดรุนแรงแบบสหสถาบันแบบครบวงจร (ปีที่ 2) 

      เจตทะนง แกล้วสงคราม; Jettanong Klaewsongkram; ภาวิณี ฤกษ์นิมิตร; Pawinee Rerknimitr; ยุทธนา ศรีนวลประเสริฐ; Yuttana Srinoulprasert; สุปราณี บูรณประดิษฐ์กุล; Supranee Buranapraditkun; ทิชา ฤกษ์พัฒนาพิพัฒน์; Ticha Rerkpattanapipat; กุมุทนาถ จันทร์ประภาพ; Kumutnart Chanprapaph; ปภาพิต ตู้จินดา; Papapit Tuchinda; ลีนา จุฬาโรจน์มนตรี; Leena Chularojanamontri; ชุติกา ศรีสุทธิยากร; Chutika Srisutthiyakorn; วรีพร ดิสภานุรัตน์; Wareeporn Disphanurat; พัลลภ จักรวิทย์ธำรง; Panlop Chakkavittumrong; นภัทร โตวณะบุตร; Napatra Tovanabutra; ชลภัทร สุขเกษม; Chonlaphat Sukasem (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07)
      ผู้ป่วยผื่นแพ้ยาชนิดรุนแรง จำนวน 195 ราย ได้รับการคัดเลือกให้เข้าร่วมในการวิจัยนี้ ผลการศึกษาพบว่าผื่นแพ้ยาชนิด Steven-Johnson syndrome/toxic epidermal necrolysis (SJS/TEN) และ drug reaction with eosinophilia and systemic ...
    • การจัดทำระบบบริการข้อมูลสถิติสุขภาพแบบบูรณาการบนอินเทอร์เน็ต 

      พินิจ ฟ้าอำนวยผล; Pinij Faramnuayphol (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01)
      ในการจัดทำระบบบริการข้อมูลสถิติสุขภาพแบบบูรณาการบนอินเทอร์เน็ต มีการพัฒนาระบบนำเสนอข้อมูลสถิติสุขภาพในหลายลักษณะตามรูปแบบการใช้ข้อมูล โดยการพัฒนาในระยะที่ 2 มีการพัฒนาระบบนำเสนอข้อมูลใน 4 รูปแบบ ได้แก่ 1) ระบบนำเสนอข้อมู ...
    • การจัดทำระบบบริการข้อมูลสถิติสุขภาพแบบบูรณาการบนอินเทอร์เน็ต 

      พินิจ ฟ้าอำนวยผล; Pinij Faramnuayphol (2557-04-01)
      โครงการจัดทำระบบบริการข้อมูลสถิติสุขภาพแบบบูรณาการบนอินเทอร์เน็ต พัฒนาขึ้นภายใต้วัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพื่อพัฒนาระบบและกลไกการรวบรวมข้อมูลสถิติสุขภาพ ที่ครอบคลุมประเด็นด้านสุขภาพอย่างครอบคลุมและครบถ้วน 2. เพื่อจัดทำระ ...
    • การจัดสรรเงินและสถานการณ์การเงินสถานบริการระดับปฐมภูมิ (สถานีอนามัย) ภายใต้การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      พินิจ ฟ้าอำนวยผล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-08)
      การบริการระดับปฐมภูมิ เป็นระบบบริการที่มีความสำคัญต่อระบบบริการสุขภาพ เนื่องจากเป็นบริการด่านแรก มุ่งเน้นการบริการที่ต่อเนื่องและผสมผสาน จึงจำเป็นที่จะต้องได้รับการสนับสนุนอย่างเพียงพอเพื่อการให้บริการที่มีประสิทธิภาพ ...
    • การฉายภาพประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2543-2568 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม; Health Systems Research Institute; Mahidol University. Institute of Population and Research (อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง, 2546)
      การฉายภาพประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2543-2568 เพื่อให้มีข้อมูลแสดงแนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงของประชากรทั้งหมด โครงสร้างอายุและเพศ ทั้งในระดับประเทศ ภาค และจังหวัด เพื่อใช้ในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ใช้เป็นตัวห ...
    • การติดตามการเปลี่ยนแปลงมิติสุขภาพของผู้สูงอายุไทยในช่วงก่อนระบาดของโรคโควิด-19 ช่วงระบาดและฐานวิถีชีวิตใหม่ 

      สุภาพ อารีเอื้อ; Suparb Aree-Ue; อินทิรา รูปสว่าง; Inthira Roopsawang; ทีปทัศน์ ชินตาปัญญากุล; Teepatad Chintapanyakun; ยุวดี สารบูรณ์; Yuwadee Saraboon; ศิริรัตน์ อินทรเกษม; Sirirat Intharakasem; วิโรจน์ กวินวงศ์โกวิท; Viroj Kawinwonggowit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงมิติสุขภาพของผู้สูงอายุ ได้แก่ กิจกรรมทางกาย ภาวะเปราะบางทางกาย ภาวะเปราะบางทางสังคม ระยะการเคลื่อนที่ในชีวิตประจำวัน ภาวะซึมเศร้า และคุณภาพชีวิตของผู้สูงอ ...
    • การทดลองใช้และประเมินผลตัวชี้วัดสำหรับงานเภสัชกรรมในโรงพยาบาล 

      ภูรี อนันตโชติ; จิราภรณ์ อุษณกรกุล; เสาวคนธ์ รัตนวิจิตราศิลป์; อินทิรา กาญจนพิบูลย์; ทวีพงษ์ อารียโสภณ; สุธีรา เตชคุณวุฒิ; ชมภูนุช สุคนธวารี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      ตัวชี้วัดจัดเป็นเครื่องมือหนึ่งที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาและการจัดระบบสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานขององค์กร ไม่ว่าจะเป็นระดับจุลภาคหรือในระดับมหภาค ซึ่งระบบสารสนเทศตัวชี้วัดดังกล่าวต้องมีความเป็ ...
    • การทบทวนการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินต่างประเทศ ภายใต้โครงการ การทบทวนประสบการณ์ต่างประเทศในการพัฒนาระบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน (Emergency Medical Services) 

      สาฬวุฒิ เหราบัตย์; ทนงสรรค์ เทียนถาวร; สุธี อินทรชาติ; พงศกร อธิกเศวตพฤทธิ์; ประสิทธิ วุฒิสุทธิเมธาวี (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2556)
      รายงานการทบทวนการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินของประเทศไทย และต่างประเทศ ได้แก่ อเมริกา แคนาดา อังกฤษ เยอรมัน ประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ญี่ปุ่น สิงคโปร์ ไต้หวัน ฮ่องกง ออสเตรเลีย