Browsing by Subject "วัคซีน"
Now showing items 1-20 of 41
-
An Assessment of Vaccine Supply Chain and Logistics Systems in Thailand
(Program for Appropriate Technology in HealthWorld Health OrganizationHealth Systems Research InstituteMahidol University, 2554-09)Improper storage and transportation can put vaccine products at risk of degradation. Therefore, an effective vaccine supply chain and logistics system is essential to ensure product quality. Since the conventional vaccine ... -
Covid 19 Vaccine vs. Clinical Trial
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07-07)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการ 30 ปี สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ก้าวสู่ทศวรรษที่ 4 : ร่วมกันวิจัย ยกระดับคุณภาพชีวิต (To the Next Decade : Enhance Research for Life) วันที่ 7-8 กรกฎาคม 2565 ณ โรงแรมอัศวิน แกรนด์ ... -
COVID-19 Evidence Update: 10% ของชาวอิสราเอลที่ไม่รับวัคซีน ส่งผลอย่างไรกับวิกฤตโควิดระลอกใหม่ในประเทศ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)ในปัจจุบัน 15% (ประมาณ 1,105,000 คน) ของชาวอิสราเอลที่มีอายุเกิน 12 ปี และ 10% (ประมาณ 755,000 คน) ที่มีอายุเกิน 20 ปี ยังคงไม่ได้รับวัคซีน ถึงแม้ว่าจะมีสิทธิรับวัคซีนก็ตาม และคนกลุ่มนี้เองที่มีรายงานว่าเป็นคนส่วนใหญ่ที่ ... -
COVID-19 Evidence Update: การฉีดวัคซีนโควิด-19 แบบสลับหรือเปลี่ยนชนิดในต่างประเทศ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)ในต่างประเทศมีการฉีดวัคซีนต่างชนิดหรือต่างบริษัทผู้ผลิต โดยเหตุผลส่วนใหญ่ คือ 1. ป้องกันการเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากวัคซีน (AstraZeneca ในเข็มสอง) 2. แก้ปัญหาวัคซีนขาดคราว 3. ฉีดกระตุ้นภูมิ (booster dose) ในประชากรกล ... -
COVID-19 Evidence Update: การศึกษาเรื่องการสลับวัคซีนโควิด-19 บอกอะไรเราบ้าง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)1. การศึกษาเรื่อง Com-COV1 พบว่าการฉีดวัคซีนแบบสลับด้วยวัคซีน AstraZeneca เข็มแรก และ Pfizer-BioNTech เป็นเข็มที่ 2 ห่างกัน 4 สัปดาห์ ให้ผลในการสร้างภูมิต้านทานบางชนิด ไม่ด้อยกว่าการฉีดวัคซีน AstraZeneca ทั้งสองเข็ม ... -
COVID-19 Evidence Update: มีประเทศใดบ้างที่แนะนำให้มีการฉีดวัคซีนกระตุ้นภูมิคุ้มกันโควิด-19 เข็มที่ 3
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)ณ วันที่ 14 กรกฎาคม 2564 มี 7 ประเทศ ได้แก่ ฝรั่งเศส สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ บาห์เรน ตุรกี สาธารณรัฐโดมินิกัน อินโดนีเซีย และสหราชอาณาจักร ที่มีนโยบายแนะนำให้มีการฉีดวัคซีนภูมิคุ้มกันโควิด 19 เข็มที่ 3 ซึ่งเป็นที่น่าสังเกตว่า ... -
COVID-19 Evidence Update: รู้หรือไม่ ข้อความแจ้งเตือนสามารถกระตุ้นให้คนมาฉีดวัคซีนมากขึ้นได้
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)ทุกประเทศมีประชาชนอย่างน้อยร้อยละ 10 ถึง 20 ไม่ยอมรับวัคซีนทั้งที่มีวัคซีนอย่างเพียงพอ ดังนั้นรัฐบาลประเทศต่างๆ จึงพยายามค้นหาวิธีทำให้ประชาชนรับวัคซีนโควิดได้มากที่สุด หนึ่งในกลยุทธ์ที่น่าสนใจและได้รับการพิสูจน์จากงานวิจัย ... -
COVID-19 Evidence Update: เมื่อวัคซีนทั่วโลก ปะทะ โควิดกลายพันธุ์ วัคซีนชนิดไหนลดอาการป่วยจากสายพันธุ์ต่างๆ ได้เท่าไหร่บ้าง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)ข้อมูลวัคซีนชนิดต่างๆ ในการลดอาการป่วยจากโควิดสายพันธุ์ต่างๆ -
COVID-19 Research Policy Brief รวมงานวิจัยและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเกี่ยวกับโควิด-19
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)เอกสารงานวิจัย เรื่อง COVID-19 Research Policy Brief รวมงานวิจัยและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเกี่ยวกับโควิด-19 ฉบับนี้ อยู่ภายใต้โครงการวิจัย การศึกษาประเด็นท้าทายเพื่อพัฒนากรอบการติดตามและการประเมินผลของนโยบายวัคซีนโควิด-19 ... -
การติดตามการเปลี่ยนแปลงของภูมิต้านทานระยะยาวต่อ SARS-CoV-2 ในผู้ป่วยที่หายจากโรคโควิด-19
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01)ประเทศไทยเป็นอีกประเทศที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคโควิด-19 ซึ่งส่งผลกระทบต่อระบบสาธารณสุข และ เศรษฐกิจของประเทศ ดังนั้นการพัฒนาความรู้ความเข้าใจในเชื้อ SARS-CoV-2 ให้รวดเร็วที่สุด จึงเป็นสิ่งสำคัญ ดังนั้นงานวิจัยนี้ ... -
การบริหารจัดการเวชภัณฑ์กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019: ปัญหา อุปสรรคในการจัดซื้อของภาครัฐ ภาคเอกชน และแนวทางแก้ไข
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)การวิจัยเรื่อง การบริหารจัดการเวชภัณฑ์กรณีโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 : ปัญหา อุปสรรคในการจัดซื้อของภาครัฐ ภาคเอกชน และแนวทางแก้ไข มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการจัดหาเวชภัณฑ์เกี่ยวกับโรค COVID-19 ได้แก่ วัคซีน ... -
การประเมินความคุ้มค่าของการนำวัคซีนป้องกันการติดเชื้อไวรัสเอชไอวีPrime-Boost (ALVAC-HIV ® และ AIDSVAX B/E®) มาใช้ในประชากรไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-02)วัตถุประสงค์ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาต้นทุนสูงสุดของวัคซีนป้องกันการติดเชื้อไวรัสเอชไอวีที่ทำให้วัคซีนฯ ยังมีความคุ้มค่าในบริบทของระบบสุขภาพประเทศไทย และประเมินคุณลักษณะของวัคซีน ฯ และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเสี่ยง ... -
การประเมินผลกระทบและความคุ้มค่าของวัคซีนโควิดที่พึงประสงค์เพื่อใช้ในการพัฒนาและคัดเลือกวัคซีนสำหรับใช้ในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-04-30)นับแต่มีการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เมื่อต้นปี พ.ศ. 2563 ทำให้มีผู้ติดเชื้อไปแล้วกว่า 100 ล้านคนและเสียชีวิตมากกว่า 2 ล้านคนทั่วโลก ถึงแม้ประเทศไทยจะประสบความสำเร็จในการควบคุมการแพร่ระบาดของโรค จากสถานการณ ... -
การพัฒนาระบบระเบียนสุขภาพอิเล็กทรอนิกส์ส่วนบุคคล (Personal Health Record : PHR) เชื่อมต่อโปรแกรมการจัดการข้อมูลวัคซีนโควิด-19 ในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 9
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01)โครงการพัฒนาระบบระเบียนสุขภาพอิเล็กทรอนิกส์ส่วนบุคคล (Personal Health Record: PHR) เชื่อมต่อโปรแกรมการจัดการข้อมูลวัคซีนโควิด-19 ในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 9 มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ สังเคราะห์และพัฒนาระบบระเบียนสุขภาพส่ว ... -
การศึกษาการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันด้านเซลล์ต่อวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ขนาดต่างๆ ในผู้ป่วยฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-01-12)ความสำคัญและที่มา : มีการศึกษาก่อนหน้านี้พบว่าการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อการป้องกันการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่จากการได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ขนาดมาตรฐานในกลุ่มผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ต้องได้รับการล้างไตด้วยวิธีการฟอกเลือดนั้นมีร ... -
การศึกษาความปลอดภัยและการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อสายพันธุ์โอไมครอนของการฉีดวัคซีนเข็มที่ 3 ในชั้นผิวหนังและกล้ามเนื้อในผู้สูงอายุที่ได้รับวัคซีนแอสตร้าเซเนก้า 2 เข็ม
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01)วัคซีนโควิด-19 เข็มกระตุ้นมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องให้ในกลุ่มประชากรที่มีความเสี่ยงสูงหากมีการติดเชื้อโควิด-19 เช่น กลุ่มผู้สูงอายุ จากการศึกษาพบว่า การฉีดวัคซีนเข้าชั้นผิวหนังมีประสิทธิภาพเทียบเท่าการฉีดเข้าชั้นกล้ามเนื้อ ... -
การศึกษาความปลอดภัยและการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันหลังการได้รับวัคซีนโควิด-19 ด้วยการฉีดเข้าในผิวหนัง เพื่อประโยชน์สูงสุดในการบริหารจัดการวัคซีน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)หลักการและเหตุผล: เนื่องด้วยประเทศไทยมีการระบาดโรคโควิด-19 หลายระลอก เป็นเหตุให้การนำเข้าวัคซีนโควิด-19 ในช่วงแรกไม่เพียงพอต่อการกระจายวัคซีนให้กับประชากร ดังนั้น การให้วัคซีนด้วยการฉีดเข้าชั้นผิวหนัง (Intradermal: ID) ... -
การศึกษาประเด็นท้าทายเพื่อพัฒนากรอบการติดตามและการประเมินผลของนโยบายวัคซีนโควิด-19 ในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01)วัคซีนโควิด-19 ถือเป็นมาตรการที่เป็นความหวังอันสำคัญในการควบคุมสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคอย่างยั่งยืน และส่งผลทางอ้อมให้ภาครัฐสามารถผ่อนปรนมาตรการอื่นๆ ที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศทางด้านสังคมและเศรษฐกิจ ฉะนั้น ... -
การศึกษาภูมิคุ้มกันโรคคอตีบจากเชื้อ Corynebacterium diphtheriae ไอกรนจากเชื้อ Bordetella pertussis และบาดทะยักจากเชื้อ Clostidium tetani
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559)วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาภูมิคุ้มกันโรคคอตีบจากเชื้อ Corynebacterium diphtheriae, ไอกรนจากเชื้อ Bordetella pertussis และบาดทะยักจากเชื้อ Clostidium tetani ในประเทศไทย วิธีการวิจัย ในขั้นตอนแรกประเมินประสิทธิภาพของชุดตรวจแ ... -
การศึกษาภูมิคุ้มกันในผู้ที่หายและผู้ที่มีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อจากโรคโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่ (โควิด-19)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)เนื่องจากยังไม่มีการศึกษาวิจัยในประเทศไทยถึงการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อเชื้อ SARS-CoV-2 ในผู้กำลังติดเชื้อโรค COVID-19 และผู้ใกล้ชิดที่มีความเสี่ยงสูง งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ในการศึกษาการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันผ่านการสร้างแอนติบอดี ...