Now showing items 1-17 of 17

    • การควบคุม ป้องกันวัณโรค 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-08)
      การป้องกันวัณโรคที่ดีที่สุดคือ การตรวจหาและรักษาผู้ป่วยวัณโรคให้เร็วที่สุด การให้วัคซีนบีซีจีแก่เด็กทารกแรกเกิด ไม่สามารถป้องกันเด็กจากวัณโรคได้อย่างเด็ดขาด และควรป้องกันตนเองไม่ให้ติดเชื้อเอชไอวี เพราะจะทำให้มีโอกาสป่วย ...
    • การทบทวนข้อมูลทางคลินิกของผู้เสียชีวิตจากวัณโรคในฐานข้อมูลการสอบสวนสาเหตุการตายจากการสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้องในปี พ.ศ. 2562 

      วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์; Virasakdi Chongsuvivatwong; เพชรวรรณ พึ่งรัศมี; Petchawan Pungrassami; พรรณทิพย์ ฉายากุล; Pantip Chayakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-05)
      การทบทวนสาเหตุการตายของประชากรไทยโดยวิธีการสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้อง (verbal autopsy) จำนวน 9,300 ราย คณะผู้ทบทวนรายงานว่า วัณโรคเป็นสาเหตุการตาย ร้อยละ 2.8 ในผู้ชาย และร้อยละ 1.3 ในผู้หญิง อันเป็นสาเหตุการตายลำดับที่ 10 และ ...
    • การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของมาตรการค้นหาและตรวจวินิจฉัยวัณโรคแฝงในผู้สัมผัสวัณโรค 

      อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; Montarat Thavorncharoensap; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol; พนิดา อยู่เพ็ชร; Panida Yoopetch (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      วัณโรคเป็นโรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย M. Tuberculosis ส่วนใหญ่มักเกิดที่ปอด ซึ่งสามารถแพร่เชื้อได้ง่าย ผู้สัมผัสที่อยู่ใกล้ชิดมีโอกาสป่วยเป็นวัณโรคหรือติดเชื้อวัณโรคแฝง ซึ่งมีโอกาสพัฒนาไปเป็นผู้ป่วยวัณโรค ...
    • การประเมินเชิงเปรียบเทียบชุดตรวจวินิจฉัยวัณโรคระยะแฝงจากตัวอย่างเลือด: QuantiFERON-TB Gold Plus และ QIAreach QuantiFERON-TB 

      วิพัฒน์ กล้ายุทธ; Wiphat Klayut; จณิศรา ฤดีอเนกสิน; Janisara Rudeeaneksin; โสภา ศรีสังข์งาม; Sopa Srisungngam; พายุ ภักดีนวน; Payu Bhakdeenuan; สุปราณี บุญชู; Supranee Bunchoo; จันทร์ฉาย คำแสน; Junchay Khamsaen; ปนัดดา อร่ามเรือง; Panatda Aramrueang; เบญจวรรณ เพชรสุขศิริ; Benjawan Phetsuksiri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      การตรวจวินิจฉัยวัณโรคระยะแฝงและการจัดการที่เหมาะสม เป็นองค์ประกอบสำคัญในการลดจำนวนผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตจากวัณโรค การตรวจวินิจฉัยวัณโรคระยะแฝง ด้วยการตรวจสารอินเตอร์เฟอรอนแกมมาจากตัวอย่างเลือด มีข้อดีกว่าการทดสอบทางผิวหน ...
    • การประเมินเทคนิคทางอณูวิทยาเพื่อวินิจฉัยวัณโรค และวัณโรคดื้อยาหลายขนาน ปีที่ 2 

      วัชระ กสิณฤกษ์; Watchara Kasinrerk; อุษณีย์ อนุกูล; Usanee Anukool; พลรัตน์ พันธุ์แพ; Ponrut Phunpae; สรศักดิ์ อินทรสูต; Sorasak Intorasoot; ชญาดา สิทธิเดช ธารินเจริญ; Chayada Sitthidet Tharinjaroen; ขจรศักดิ์ ตระกูลพัว; Khajornsak Tragoolpua; บดินทร์ บุตรอินทร์; Bordin Butr-Indr; กัญญา ปรีชาศุทธิ์; Kanya Preechasuth; ประภาภรณ์ ศรีโลหะสิน; Prapaporn Srilohasin; เจียรนัย ขันติพงศ์; Jiaranai Khantipongse (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)
      วัณโรค (tuberculosis: TB) และวัณโรคดื้อยาหลายขนาน (multidrug-resistant TB: MDR-TB) เป็นหนึ่งในปัญหาสาธารณสุขสำคัญของประเทศไทย ที่ผ่านมาพบว่าความครอบคลุมในการรักษา TB และ MDR-TB อยู่ในอัตราที่ต่ำโดยหนึ่งในสาเหตุสำคัญมาจาก ...
    • การพัฒนาคู่มือและเครื่องมือที่ช่วยเพิ่มความครอบคลุมในการค้นหาผู้สัมผัสวัณโรคและลดผลกระทบทางสังคมแก่ผู้ป่วยและผู้สัมผัสโรค 

      จินตนา งามวิทยาพงศ์-ยาไน; Jintana Ngamvithayapong-Yanai; ศุภเลิศ เนตรสุวรรณ; Supalert Nedsuwan; วรรัตน อิ่มสงวน; Worrarat Imsanguan; วณิชยา วันไชยธนวงศ์; Vanichaya Wanchaithanawong; อมรรัตน์ วิริยะประสพโชค; Amornrat Wiriyaprasobchok (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-08)
      วัณโรคเป็นโรคของความยากจนและมีการตีตราทางสังคมสูง (stigma) ประเทศไทยมีปัญหารุนแรงเกี่ยวกับวัณโรคร่วมกันทั้ง 3 ด้าน คือ มีจำนวนผู้ป่วยวัณโรค, ผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนาน (MDR-TB) และผู้ป่วยวัณโรคติดเชื้อเอชไอวี (TB/HIV) ...
    • การพัฒนาปัญญาประดิษฐ์ช่วยในการคัดกรองรอยโรคจากภาพถ่ายรังสีทรวงอกเพื่อคัดกรองวัณโรคปอด มะเร็งปอดและรอยโรคอื่นๆ 

      ธรรมสินธ์ อิงวิยะ; Thammasin Ingviya; สาธิต อินทจักร์; Sathit Intajag; สุภาภรณ์ กานต์สมเกียรติ; Supaporn Kansomkeat; วิวัฒนา ถนอมเกียรติ; Wiwattana Thanomkeat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      ภาพถ่ายดิจิทัลรังสีทรวงอก หรือ Digital chest x-ray image เป็นเครื่องมือวินิจฉัยทางการแพทย์ที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน ช่วยในการวินิจฉัยโรค ได้แก่ วัณโรคปอดและมะเร็งปอด ในการตรวจสุขภาพประจำปีอีกด้วย ในแต่ละปีมีภาพถ่า ...
    • การพัฒนาแบบจำลอง คณิตศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และการดำเนินการ สำหรับมาตรการค้นหาวัณโรคแฝงในผู้สัมผัสวัณโรค (ปีที่1) 

      อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaykhetkaew; มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; Montarat Thavorncharoensap; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; พนิดา อยู่เพ็ชร; Panida Yupet; นุสรา สัตย์เพริศพราย; Nusara Satpretpry; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      วัณโรคเป็นโรคติดเชื้อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญต่อประชากรทั่วโลก ประเทศไทยถูกจัดเป็น 1 ใน 14 ประเทศที่มีปัญหาภาระวัณโรคสูง (high TB burden country) องค์การอนามัยโลกได้กำหนดยุทธศาสตร์ยุติวัณโรค (End TB Strategy) ...
    • การศึกษาประสิทธิผล ความปลอดภัย และระดับยาของยาโดลูทิกราเวียร์ 50 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้งร่วมกับอาหาร เปรียบเทียบกับยาโดลูทิกราเวียร์ 50 มิลลิกรัม วันละ 2 ครั้งในผู้ที่ติดเชื้อไวรัสเอชไอวี-1 ที่เป็นวัณโรค และเริ่มการรักษาด้วยสูตรยาไรแฟมปิน (ปีที่ 1) 

      อัญชลี อวิหิงสานนท์; Anchalee Avihingsanon; ศิวะพร เกตุจุมพล; Sivaporn Gatechompol; กำพล สุวรรณพิมลกุล; Gompol Suwanpimolkul; กมล แก้วกิติณรงค์; Kamon Kawkitinarong; โอภาส พุทธเจริญ; Opass Putcharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      เนื่องจากการรับประทานยาไรแฟมปินและยาโดลูเทกราเวียร์ร่วมกันจะทำให้ระดับยาโดลูเทกราเวียร์ลดลง จึงมีคำแนะนำให้รับประทานยาโดลูเทกราเวียร์ วันละ 2 ครั้ง เมื่อมีการใช้ยาร่วมกัน อย่างไรก็ตาม ในผู้ที่มีสุขภาพดี การรับประทานยาโดล ...
    • ที่นี่ปลอดวัณโรค แน่ใจ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-08)
      วันนี้ วัณโรคยังอยู่กับสังคมไทย ไทยติดอันดับประเทศที่มีผู้ป่วยวัณโรคจำนวนมาก ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2541 และปี พ.ศ. 2555 มีผู้เสียชีวิตกว่าหมื่นราย ประชากรโลก 1 ใน 3 เป็นผู้ติดเชื้อวัณโรคโดยไม่ปรากฏอาการ วัณโรคเป็นแล้วตายแต่สามา ...
    • ผลกระทบจากสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่อผลการดำเนินงานวัณโรคในประเทศไทย 

      อุษณีย์ อึ้งเจริญ; Usanee Ungcharoen; พิริยา เหรียญไตรรัตน์; Piriya Rientrirat; วรรณนิศา เทพรงค์ทอง; Wannisa Theprongthong; แมกา, ไซฟุดดีน; Maeka, Saifuddeen; ศิวรัตน์ นามรัง; Siwarat Namrang; ทิพประภา อมราสกุลทรัพย์; Thipprapa Amarasakulsap; ไพฑูรย์ บุญตวง; Phaithoon Boonthoung (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เริ่มมีการระบาดครั้งแรกในเดือนธันวาคม 2562 ณ ประเทศจีน หลังจากนั้นมีการแพร่ระบาดเป็นวงกว้างทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย รัฐบาลไทยได้ประกาศพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ...
    • ยุติวัณโรคล้านนา โดยการมีส่วนร่วมของร้านขายยา และคลินิกเอกชนในการคัดกรองและส่งต่อผู้มีอาการวัณโรค 

      จินตนา งามวิทยาพงศ์-ยาไน; Jintana Ngamvithayapong-Yanai; ดิเรก สุดแดน; Derek Sutdan; คณัสนันท์ ศรีวรรณรมย์; Kanassanan Sriwanarom; ณัฐประคัลภ์ หอมนวล; Natprakan Homnual; ทรามวัย หลวงจินา; Sarmwai Luangjina; นภัชณันท์ บุญจู; Naphatchanan Boonju; เบญจวรรณ บุญส่ง; Benjawan Boonshong; บุญชัย ไชยาศิรินทร์โรจน์; Boonchai Chaiyasirinroje; ภัสสรา ซาลิซส์; Phassara Salis; ศราวุธ มณีวงค์; Sarawut Maneewong; สิริวิมล มณี; Siriwimon Manee; สุรีรัตน์ ท้าวถึง; Sureerut Thawthung; เอกชัย คนกลาง; Ekkachai Konklang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      ความเป็นมาและวัตถุประสงค์ : จากผลการศึกษาในการดำเนินงานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบความร่วมมือของหลายภาคส่วน เพื่อยุติวัณโรคในเขตเทศบาลเมืองและอำเภอเมือง (ปีที่ 1) ดำเนินการในพื้นที่จังหวัดเชียงราย ในปี พ.ศ. 2562-2563 พบว่า ...
    • รังสีวินิจฉัยวัณโรคระบบประสาท 

      อรสา ชวาลภาฤทธิ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      บทความนี้ได้นำแสดงภาพรังสีวินิจฉัยการติดเชื้อวัณโรคเยื่อหุ้มสมอง และเนื้อสมองที่ตรวจด้วยซีทีสแคนและเอทอาร์ไอ แม้ว่าการรักษาที่ดีที่สุดและแน่นอนที่สุดยังเป็นการตรวจทางพยาธิวิทยา และการตรวจพบเชื้อวัณโรค การตรวจด้วยซีทีสแคน ...
    • รู้ เข้าใจวัณโรค 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-08)
      วัณโรคเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ติดต่อทางลมหายใจจากคนสู่คน ด้วยการแพร่กระจายผ่านละอองเสมหะจากการไอ จาม พูดคุย แต่ไม่ติดต่อด้วยการกินอาหารหรือน้ำด้วยกัน แต่ควรใช้ช้อนกลางและแยกภาชนะกัน วัณโรคเกิดได้กับหลายส่วนของร่างกาย เช่น ...
    • วัณโรคในเด็กนักเรียน 

      ปิยรัชต์ สันตะรัตติวงศ์; Piyarat Suntarattiwong; เกศสิรี กรสิทธิกุล; Katesiree Kornsitthikul; ประอร สุประดิษฐ์ ณ อยุธยา; Pra-on Supradish; พักต์เพ็ญ ศิริคุตต์; Pugpen Sirikutt; เอนก มุ่งอ้อมกลาง; Anek Mungaomklang; เพชรวรรณ พึ่งรัศมี; Petchawan Pungrassami; ผลิน กมลวัทน์; Phalin Kamolwat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      บทนำ ประเทศไทยมีการประมาณการอุบัติการณ์ของโรควัณโรคในประชากรสูงติดอันดับ 1 ใน 30 ของโลก มีรายงานผู้ป่วยวัณโรคปอดในเด็กนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาและวัยรุ่น ซึ่งเมื่อมีการรวมตัวกันมีความเสี่ยงที่วัณโรคจะแพร่กระจาย ภาวะติดเชื้อ ...
    • เครื่องมือค้นหาผู้สัมผัสวัณโรค 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-08)
      โครงการพัฒนาคู่มือและเครื่องมือที่ช่วยเพิ่มความครอบคลุมในการค้นหาผู้สัมผัสวัณโรคและผลกระทบทางสังคมแก่ผู้ป่วยและผู้สัมผัสโรค หนึ่งในผลงานวิจัยของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ที่นำมาสู่การพัฒนาเป็นหลักสูตรการสื่อสารเพื ...
    • โครงการปัญญาประดิษฐ์เพื่อการค้นหาวัณโรคเชิงรุก 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; Krit Pongpirul; ศีลวันต์ สถิตย์รัตนชีวิน; Seelwan Sathitratanacheewin; พนาสันต์ สุนันต๊ะ; Panasun Sunanta (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      วัณโรคเป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญระดับโลกนอกจากก่อให้เกิดความสูญเสียทางสุขภาพจากการป่วยและเสียชีวิต ยังเกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจ ผลกระทบเกิดทั้งต่อผู้ป่วย ครอบครัวและคนใกล้ชิด รวมถึงสังคมสูญเสียผลิตภาพและศักยภาพของประชากร ...