• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) 
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "Insurance, Health"

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 1-16 จาก 16

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • การจัดบริการทันตสุขภาพภายใต้นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      กุลยา รัตนปรีดากุล; Kulaya Rattanapreedakul; จันทนา อึ้งชูศักดิ์; เพ็ญแข ลาภยิ่ง; แพร จิตตินันทน์; วิชัย วิวัฒน์คุณูปการ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจของประเทศ ตลอดจนวิถีชีวิตและความเชื่อของประชาชนส่งผลต่อทันตสุขภาพของประชาชนไทย วิถีชีวิตบางอย่างทำให้ประชาชนมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคในช่องปากมากขึ้น โดยเฉพาะการบริโภคน้ำตาลที่เพิ่มมากขึ้น ...
    • การทบทวนความสำเร็จและโอกาสพัฒนาของการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าตามกรอบข้อเสนอระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข พ.ศ. 2544 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนการดำเนินการ ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาของระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตามกรอบข้อเสนอระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ที่เสนอไว้โดยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขในรายงานการศึกษา ตลอดจนค้นหาข้อมูลป้อ ...
    • การประเมินผลเชิงพัฒนานโยบาย 30 บาทรักษาทุกที่ ด้วยบัตรประชาชนใบเดียว ในพื้นที่นําร่อง 

      ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittiratchakool; วิลาวรรณ ล้วนคงสมจิตร; Vilawan Luankongsomchit; ขวัญพุทธา อรุณประเสริฐ; Kwanputtha Arunprasert; พรอุมา ราศรี; Pornuma Rasri; ปภาดา ราญรอน; Papada Ranron; ศุภสุดา โพธิ์โสรีย์; Supasuda Posoree; นิชาต์ มูลคำ; Nicha Moonkham; นุชพงศ์ จงโชติชัชวาลย์; Nuchapong Jongchotchatchawal; วิศวะ มาลากรรณ; Wissawa Malakan; วิลาสินี สำเนียง; Wilasinee Samniang; ธนกร เจริญกิตติวุฒ; Thanakorn Jalearnkittiwut; อานนท์ กุลธรรมานุสรณ์; Anond Kulthanmanusorn; ศรวณีย์ อวนศรี; Sonvanee Uansri; ศิริกัลยาณ์ สุจจชารี; Sirikanlaya Sujjacharee; พิสภาสินี พิศาลสินธุ์; Pispasinee Pisansin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-01)
      นโยบาย “30 บาท รักษาทุกที่ ด้วยบัตรประชาชนใบเดียว” เป็นนโยบายภาครัฐจากแผนขับเคลื่อนนโยบายกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2567 ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับระบบบริการสุขภาพให้เกิดการเชื่อมโยงข้อมูลสุขภาพจากหน่วยบริการสาธารณสุขทุกระ ...
      ป้ายกำกับ:
      รายการแนะนำ
    • การศึกษาภาพรวมและผลกระทบทางด้านจริยธรรมกับโครงการ 30 บาท รักษาทุกโรค 

      คณะอนุกรรมการพิจารณาศึกษาภาพรวมและผลกระทบด้านจริยธรรมเกี่ยวกับโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค; แพทยสภา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาพรวมและผลกระทบทางด้านจริยธรรมของแพทย์เกี่ยวกับโครงการ 30 บาท รักษาทุกโรค เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาพิจารณาวิเคราะห์และสังเคราะห์ให้กับผู้ที่เกี่ยวข้องและรับผิดชอบได้ทราบอันจะนำไปใช้ให้เป็น ...
    • ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายสำหรับ Catastrophic illness and catastrophic insurance development in Thailand 

      สุคนธา คงศีล; Sukhontha Kongsin (คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2540)
    • ความพยายามและความสำเร็จของคณะกรรมการกำหนดระบบบริหารยา เวชภัณฑ์ การเบิกจ่ายค่าตรวจวินิจฉัยและค่าบริการทางการแพทย์ 

      เดือนเด่น นิคมบริรักษ์; Deunden Nikomborirak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-09)
      การบริหารจัดการระบบประกันสุขภาพของประเทศไทยเป็นปัญหาที่ท้าทายรัฐบาลทุกสมัย เนื่องจากประเทศไทยมีกองทุนประกันสุขภาพที่หลากหลาย เช่น กองทุนสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ กองทุนประกันสังคม กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ...
    • ความเป็นธรรมทางสุขภาพ : การประเมินระดับครัวเรือน 

      Suphasit Panarunothai; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์; สุกัลยา คงสวัสดิ์; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; วิรัชดา สุทธยาคม; พิชญ์ รอดแสวง; Direk Patamasiriwat; Sukanya Khongsawat; Sumrit Sritamrongsawat; Wiratda Sutayakhom; Phi Rodsawaeng (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นนโยบายสำคัญอย่างหนึ่งที่องค์การอนามัยโลกเสนอแนะแก่รัฐบาลทั้งประเทศพัฒนาและกำลังพัฒนา ประเทศไทยดำเนินนโยบายนี้ทั่วประเทศอย่างรวดเร็วฉับไวเพียงหนึ่งปีหลังจากรัฐบาลใหม่ได้ชัยชนะเสียงข้างมากจากการ ...
    • ความเป็นธรรมทางสุขภาพระดับครัวเรือน : การสำรวจครัวเรือนรอบที่ 2 และการตรวจร่างกายครั้งที่ 1 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์; สุกัลยา คงสวัสดิ์; Direk Patamasiriwat; Sukalaya Kongsawatt (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าต้องการสร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสุขภาพ โดยปัจจัยทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมไม่เป็นอุปสรรคกีดขวาง การศึกษาครั้งนี้เพื่อประเมินผลของนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในปี 2546 โดยการสำรว ...
    • จากนโยบายสู่การปฏิบัติ : หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย พ.ศ. 2544-2547 

      สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ; International Health Policy Program (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      จากนโยบายสู่การปฏิบัติ : หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย พ.ศ. 2544-2547 ประกอบด้วย 7 บท ได้แก่ บทที่ 1. กระบวนการกําหนดนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า บทนี้จะวิเคราะห์กระบวนการกําหนดนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (Agenda ...
    • จากนโยบายสู่การปฏิบัติหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย 

      สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ; International Health Policy Program (สำนักงาน, 2548)
    • ดัชนีชี้วัดความเป็นธรรมด้านสุขภาพ 

      วิโรจน์ ณ ระนอง; Wirot Na Ranong; อัญชนา ณ ระนอง; Anchana Na Ranong; สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย; Thailand Development Research Institute Foundation (สถาบันวิจัยสาธารณสุข, 2550)
      วัตถุประสงค์หลักของรายงานนี้คือ พยายามวิเคราะห์ถึงแนวคิดเรื่องความเป็นธรรมด้านสุขภาพ และดัชนีชี้วัดความเป็นธรรมด้านสุขภาพ โดยพยายามลงไปถึงด้านปรัชญา แนวคิด การตีความและข้อจำกัดของดัชนีเหล่านั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งดัชนีที่ม ...
    • ปัจจัยส่งเสริมการตัดสินใจเข้าร่วมและแนวโน้มการคงอยู่ของคลินิกทันตกรรมเอกชนในโครงการ 30 บาทรักษาทุกที่ ด้วยบัตรประชาชนใบเดียว: กรณีศึกษาจังหวัดนครราชสีมา 

      ณกรณ์ วิเศษเสนา; Nagorn Wisetsena (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-12)
      โครงการ 30 บาทรักษาทุกที่ด้วยบัตรประชาชนใบเดียว มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพของประชาชน โดยเน้นการให้บริการปฐมภูมิในสถานบริการใกล้บ้าน และประชาชนสามารถใช้สิทธิเข้ารับบริการสุขภาพจากสถานบริการเอกชนที่เข้า ...
    • ผลกระทบของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่มีต่อค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประชาชนและการลดความยากจน 

      อัญชนา ณ ระนอง; Anchana Na Ranong; วิโรจน์ ณ ระนอง; Wirot Na Ranong; สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย; Thailand Development Research Institute Foundation (สถาบันวิจัยสาธารณสุข, 2550)
      การศึกษานี้เป็นการวัดผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการจัดให้มีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่มีต่อภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประชาชน และการลดความยากจน โดยการศึกษาในส่วนที่เกี่ยวข้องกับความยากจน ได้ใช้วิธีวัดความยากจนของครัวเรือนไทยตา ...
    • พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถในบริบทของการประกันสุขภาพถ้วนหน้า : ข้อเสนอเพื่อการปฏิรูป 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; จงกล เลิศเธียรดำรง; วลัยพร พัชรนฤมล; Jongkol Lertiendumrong; Walaiporn Patcharanarumol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถดำเนินการมาตั้งแต่ปี 2535 แม้ว่าจะเป็นการประกันภาคบังคับ บริษัทประกันวินาศภัย ที่มุ่งกำไร เป็นผู้บริหารโครงการนี้ทั้งหมด แทนที่จะเป็นภาครัฐ พ.ร.บ.นี้ ให้การคุ้มครองโดยจ่ายสินไหมทดแทนกรณีรักษาพยาบาล ...
    • สมดุลของนโยบายการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและการเป็นศูนย์กลางธุรกิจการรักษาพยาบาลของเอเชีย บนฐานคิดเศรษฐกิจพอเพียง 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์ (สํานักงานปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ, 2549-10)
      มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาประเด็นที่เรียนรู้ร่วมกันได้ระหว่างนโยบายการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและการพัฒนาประเทศไปสู่การเป็นศูนย์กลางธุรกิจการรักษาพยาบาลของเอเชีย อันจะนําไปสู่ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาที่สร้างสรรค์สําหรั ...
    • แนวทางและทางเลือกในการสร้างตัวแบบสำหรับการวิเคราะห์ผลประโยชน์ที่ประชาชนได้รับ (Benefit Incidence Analysis) จากเงินอุดหนุนของภาครัฐในโครงการหลักประกันสุขภาพ 

      วิโรจน์ ณ ระนอง; Wirot Na Ranong; อัญชนา ณ ระนอง; อรรถกฤต เล็กศิวิไล; Anchana Na Ranong; Anthakrit Leksiwilai; สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย; Thailand Development Research Institute Foundation (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การวัดผลประโยชนที่ประชาชนกลุ่มต่างๆ (เช่น ตามเศรษฐานะต่างๆ) ได้รับจากโครงการของภาครัฐ (benefit incidence) เป็นเครื่องมือหนึ่งทางเศรษฐศาสตร์การคลัง (Public Finance หรือในปัจจุบันมักเรียกว่าเศรษฐศาสตร์ภาครัฐหรือ Economics ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [620]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1292]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [234]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV