• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
ดูรายการ 
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • ดูรายการ
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • ดูรายการ
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

ผลกระทบของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่มีต่อค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประชาชนและการลดความยากจน

อัญชนา ณ ระนอง; Anchana Na Ranong; วิโรจน์ ณ ระนอง; Wirot Na Ranong; สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย; Thailand Development Research Institute Foundation;
วันที่: 2550
บทคัดย่อ
การศึกษานี้เป็นการวัดผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการจัดให้มีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่มีต่อภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประชาชน และการลดความยากจน โดยการศึกษาในส่วนที่เกี่ยวข้องกับความยากจน ได้ใช้วิธีวัดความยากจนของครัวเรือนไทยตามวิธีการใหม่ งานวิจัยส่วนนี้เป็นการดำเนินการต่อเนื่องจากงานของคณะผู้วิจัย (วิโรจน์ ณ ระนอง และคณะ 2547) ซึ่งแม้ว่าจะเป็นงานที่ได้รับการกล่าวอ้างถึงบ่อยครั้งในวงสาธารณะรวมทั้งจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แต่การศึกษาดังกล่าวยังมีข้อจำกัดบางประการคือ ประการแรก การศึกษาดังกล่าวใช้ข้อมูลถึงเพียงปี 2545 ซึ่งเป็นช่วงที่ยังมีส่วนที่ overlap กับช่วงก่อนที่มีโครงการ 30 บาทและผลกระทบจากการดำเนินการของโครงการ 30 บาทในปีแรกเพียงปีเดียวก็อาจจะไม่เพียงพอที่จะนำมาสรุปเป็นผลของโครงการนี้ได้อย่างมีน้ำหนักเพียงพอ รวมทั้งผลอาจจะเปลี่ยนแปลงไปได้หลังจากที่โครงการได้ดำเนินการมานานขึ้น และทุกฝ่ายผ่านการปรับตัวกันมากขึ้น (ตัวอย่างเช่น เหตุผลประการหนึ่งที่ผู้ที่ไม่เห็นด้วยกับโครงการ 30 บาทฯ มักจะระบุว่าผลที่ก่อให้เกิดความพึงพอใจค่อนข้างสูงในระยะแรกเกิดจากสถานพยาบาลยังสามารถระดมเงินทุนสำรอง (เงินบำรุง) มาใช้ ซึ่งจะทำให้ผลดังกล่าวจะอยู่ได้ไม่นานและทัศนคติของประชาชนจะเปลี่ยนไปหลังจากที่โครงการผ่านไปได้ 2-3 ปี แต่ถ้าพิจารณาจากโพลล์ต่างๆ ที่ออกมาในระยะหลังก็จะเห็นได้ว่าความนิยมของโครงการยังไม่มีแนวโน้มที่จะตกลงอย่างที่ท่านเหล่านั้นคาดการณ์เอาไว้) ซึ่งการขยายขอบเขตของการศึกษาให้ครอบคลุมช่วงหลังจากที่มีการดำเนินโครงการ 30 บาทฯ ให้นานขึ้น จะช่วยให้สามารถตอบคำถามและข้อกังขาเหล่านี้ได้อย่างชัดเจนและด้วยความมั่นใจมากขึ้น
Copyright ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์
ฉบับเต็ม
Thumbnail
ชื่อ: hs1390.pdf
ขนาด: 565.0Kb
รูปแบบ: PDF
ดาวน์โหลด

คู่มือการใช้งาน
(* หากไม่สามารถดาวน์โหลดได้)

จำนวนดาวน์โหลด:
วันนี้: 0
เดือนนี้: 0
ปีงบประมาณนี้: 1
ปีพุทธศักราชนี้: 1
รวมทั้งหมด: 156
 

 
 


 
 
แสดงรายการชิ้นงานแบบเต็ม
คอลเล็คชั่น
  • Research Reports [2483]

    งานวิจัย

ชิ้นงานที่เกี่ยวข้อง

แสดงชิ้นที่เกี่ยวข้องโดย ชื่อเรื่อง ผู้แต่ง ผู้สร้าง และหัวเรื่อง

  • การสังเคราะห์องค์ความรู้เพื่อจัดทำข้อเสนอ การปฎิรูประบบบริการสุขภาพ และการสร้างหลักประกันสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุไทย 

    วรรณภา ศรีธัญรัตน์; Wannapa Srithanyarat; ผ่องพรรณ อรุณแสง; อัมพร เจริญชัย; สุจิตรา ลิ้มอำนวยลาภ; กัลยา พัฒนศรี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
    เอกสารนี้นำเสนอผลการสังเคราะห์องค์ความรู้ เพื่อจัดทำข้อเสนอการปฏิรูประบบบริการสุขภาพและการสร้างหลักประกันสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุไทย ในกระบวนการสังเคราะห์ได้มีการศึกษาวิเคราะห์การดำเนินงานด้านระบบบริการสุขภาพและหลักประกันส ...
  • การประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากโยบายหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ต่อกลุ่มทอผ้าพื้นบ้านในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 

    เกษราวัลณ์ นิลวรางกูร; Ketsarawan Nlilwarangkul; จรัญญา วงษ์พรหม; ชลิดา ธนัฐธีรกุล; สุมน ปิ่นเจริญ; Charunnya Wongphom; Chalida Tanutteerakul; Sumon Pincharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
    นโยบายหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ เป็นนโยบายที่ถูกกำหนดเพื่อยกระดับความเป็นอยู่ทางเศรษฐกิจของประชาชนในท้องถิ่น การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาขอบเขตของนโยบายและการกระตุ้นการพัฒนาของนโยบายต่อกลุ่มทอผ้าพื้นบ้าน ...
  • เคล็ดไม่ลับ R2R : บริบทโรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป/ชุมชน 

    วิจารณ์ พานิช; พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; จรวยพร ศรีศศลักษณ์; สรชัย จำเนียรดำรงการ; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (แผนงานพัฒนาเครือข่ายวิจัยในรูปแบบงานวิจัยจากงานประจำสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-07)
    ภายในเวลา 5 ปี ที่ R2R งอกงามขึ้นที่ศิริราช บัดนี้ R2R ได้แพร่ขยายออกไปทั่วประเทศไทย ในหน่วยงานด้านสุขภาพ ภายใต้การจัดการของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ร่วมกับภาคีเครือข่ายที่หลากหลาย กระบวนการขับเคลื่อนไปสู่วงการสา ...

DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV
 

 

เลือกตามประเภท (Browse)

ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)ประเภททรัพยากรนี้ปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [620]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1290]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [232]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV