สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
Browse by
Creative Commond (CC BY-NC-SA 3.0 TH)
Collections in Health Systems Research Institute
-
Annual Reports [23]
รายงานประจำปี -
Articles [1360]
บทความวิชาการ -
Clippings/News [100]
กฤตภาค/ข่าว -
Documents/Pocket Books [625]
เอกสารเผยแพร่/พ็อกเกตบุ๊ก -
Photo [65]
รูปภาพ -
Policy Brief [13]
ข้อเสนอเชิงนโยบาย -
Presentations [882]
เอกสารนำเสนอประกอบการประชุม -
Recommended Items [13]
งานวิจัยแนะนำ -
Research Reports [2438]
งานวิจัย -
VDO [1]
วิดีโอ
Recent Submissions
-
ข้อเสนอนโยบายและแนวทางการบริหารจัดการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลที่ถ่ายโอนไปสู่องค์การบริหารส่วนจังหวัดตามเกณฑ์คุณภาพมาตรฐานบริการปฐมภูมิ พ.ศ. 2566
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-01)การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Method) มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาเปรียบเทียบการดำเนินงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ภายหลังการถ่ายโอนภารกิจ ตามเกณฑ์คุณภาพมาตรฐานบริการปฐมภูมิ พ.ศ. 2566 ... -
การพัฒนาตัวชี้วัดและจัดทำรายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพไทย ตามพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 เรื่องการเงินการคลังด้านสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-11)งานวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการตามพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 และธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติฉบับที่ 3 พ.ศ. 2565 ซึ่งกำหนดให้คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติติดตามและประเมินผลสถานการณ์ระบบสุขภาพ และมีการทบทวนธ ... -
การจัดทำร่างแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 13 พ.ศ. ....
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-11)รัฐบาลได้มีการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) เป็นแผนแม่บทหลักในการพัฒนาประเทศ (แผนระดับที่ 1) โดยมีการจัดทำแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติเพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดเอาไว้ และสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศร ... -
ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาบทบาทของศูนย์วิชาการในการสนับสนุนการดำเนินงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-11)ศูนย์วิชาการ กระทรวงสาธารณสุข มีบทบาทหน้าที่หลักในการขับเคลื่อนภารกิจเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาการให้กับกรมวิชาการ กระทรวงสาธารณสุข โดยการศึกษา วิจัย พัฒนา และถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยี ดำเนินงานส่งเสริม ป้องกัน เฝ้าระวัง ควบคุม ... -
การแพทย์แม่นยําในทารกที่มีผลการตรวจคัดกรองทารกแรกเกิดผิดปกติ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-12)ทารกที่มีผลเลือดตรวจคัดกรองภาวะพร่องฮอร์โมนไทรอยด์แต่กำเนิดและโรคพันธุกรรมเมตาบอลิกผิดปกติ มีความเสี่ยงสูงที่จะเป็นโรค จะได้รับการตรวจเพิ่มเติมเพื่อยืนยันผลการตรวจคัดกรองว่าเป็นโรค ซึ่งในบางโรคอาจต้องใช้การตรวจหลายอย่างใ ... -
ความเห็นต่อการประยุกต์ปัญญาประดิษฐ์เพื่อสนับสนุนการเฝ้าระวังการจำหน่ายและโฆษณาผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่ผิดกฎหมายบนแพลตฟอร์มพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-12)ที่มา: ความนิยมใช้แพลตฟอร์มพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วทำให้การจำหน่ายและโฆษณาผลิตภัณฑ์เสริมอาหารอย่างผิดกฎหมายทำได้ง่ายขึ้น วัตถุประสงค์: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเส ... -
การประเมินประสิทธิภาพของโครงการรับยาที่ร้านยาใกล้บ้าน ในเครือข่ายโรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-12)ภูมิหลังและเหตุผล: โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ดำเนินโครงการลดความแออัดและลดระยะเวลารอคอยการรับยาของผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังทุกสิทธิการรักษาให้ไปรับยาที่ร้านยาใกล้บ้าน ตามรูปแบบที่ 1 คือโรงพยาบาลจัดซื้อและจัดยาสำหร ... -
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพในการดําเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพของหน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิที่สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-12)การถ่ายโอนภารกิจด้านการคุ้มครองผู้บริโภคให้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัด ได้มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่องตามแผนกระจายอำนาจ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในประเด็นเครือข ... -
สถานการณ์และการพัฒนารูปแบบการให้คำปรึกษาทางพันธุศาสตร์มะเร็งเต้านมในโรงพยาบาลมะเร็งอุบลราชธานี
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-12)การวิจัยและพัฒนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์ พัฒนารูปแบบและประเมินผลรูปแบบการให้คำปรึกษาทางพันธุศาสตร์มะเร็งเต้านมในโรงพยาบาลมะเร็งอุบลราชธานี ดำเนินการระหว่าง กุมภาพันธ์ 2565-ธันวาคม 2566 ประกอบด้วย 2 ระยะ ... -
การวิเคราะห์ต้นทุนอรรถประโยชน์ของมาตรการคัดกรองเบาหวานในประชากรไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-12)ภูมิหลังและเหตุผล: การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานประเภทที่ 2 (type2 diabetes: T2DM) ในประชากรทั่วไปมีจำกัด การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินต้นทุน-อรรถประโยชน์ของกลยุทธ์การคัดกรอง T2DM ... -
ปัจจัยส่งเสริมการตัดสินใจเข้าร่วมและแนวโน้มการคงอยู่ของคลินิกทันตกรรมเอกชนในโครงการ 30 บาทรักษาทุกที่ ด้วยบัตรประชาชนใบเดียว: กรณีศึกษาจังหวัดนครราชสีมา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-12)โครงการ 30 บาทรักษาทุกที่ด้วยบัตรประชาชนใบเดียว มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพของประชาชน โดยเน้นการให้บริการปฐมภูมิในสถานบริการใกล้บ้าน และประชาชนสามารถใช้สิทธิเข้ารับบริการสุขภาพจากสถานบริการเอกชนที่เข้า ... -
สิทธิประโยชน์ สวัสดิการและความก้าวหน้าของบุคลากร โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-12)ภูมิหลังและเหตุผล: การส่งเสริมให้บุคลากรโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) ได้รับสิทธิประโยชน์ สวัสดิการและความก้าวหน้าในอาชีพนั้น มีความสำคัญ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ... -
มุมมองผู้ป่วยเกี่ยวกับคุณภาพบริการการแพทย์ฉุกเฉิน และปัจจัยที่เกี่ยวข้องในบริบทการกระจายอำนาจสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-12)การแพทย์ฉุกเฉินถือเป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสุขภาพที่สามารถลดอัตราตายและผลกระทบจากการเจ็บป่วยในกลุ่มผู้ป่วยที่มีการเจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤต อย่างไรก็ตาม การแพทย์ฉุกเฉินนั้นยังมีความท้าทายหลายประการ โดยเฉพาะในการเข้าถึงบริการ ... -
การตรวจติดตามรอยโรคมะเร็งเต้านมแบบไม่รุกรานด้วยการตรวจดีเอ็นเอมะเร็งในเลือดแบบแม่นยํา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-12)โรคมะเร็งเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญของประเทศ มะเร็งเป็นโรคที่เกิดจากการกลายพันธุ์ที่มีความหลากหลายสูง และในผู้ป่วยแต่ละรายมีการกลายพันธุ์ที่ไม่เหมือนกัน ปัจจุบันการตรวจติดตามด้วยภาพถ่ายทางรังสีและการตรวจหาค่ามะเร็ง เช่น CEA ... -
การพัฒนาแนวทางการประเมินความคุ้มค่า (Reference Case) สำหรับการแพทย์เฉพาะบุคคล หรือการแพทย์แม่นยํา เพื่อพิจารณาในชุดสิทธิประโยชน์ของระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย ส่วนที่ 2: ความคุ้มทุนของการทดสอบ Cascade Testing สำหรับโรคคอเลสเตอรอลสูงทางพันธุกรรมในประเทศไทย: การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบของวิธีการการจัดลำดับ Genome Sequencing ในช่วงการพัฒนาเทคโนโลยีที่แตกต่างกัน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-12)วัตถุประสงค์: Whole exome sequencing (WES) เป็นวิธีวิเคราะห์พื้นฐานที่ใช้ในการวินิจฉัยโรคคอเลสเตอรอลสูงทางพันธุกรรม (familial hypercholesterolemia, FH) และในปัจจุบันมีการพัฒนาเทคนิค long-read sequencing (LRS) ซึ่งทำให้สา ... -
การพัฒนาแนวทางการประเมินความคุ้มค่า (Reference Case) สำหรับการแพทย์เฉพาะบุคคล หรือการแพทย์แม่นยํา เพื่อพิจารณาในชุดสิทธิประโยชน์ของระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย ส่วนที่ 1: การพัฒนากรอบแนวคิด PICCOTEAM Reference Case ในการประเมินความคุ้มค่าสำหรับการแพทย์เฉพาะบุคคลหรือการแพทย์แม่นยำ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-12)ความเป็นมา: การประเมินความคุ้มค่า (economic evaluations: EEs) ของการแพทย์แม่นยำ (precision medicine: PM) ในปัจจุบันมักเป็นไปตามแนวทางมาตรฐาน (Reference Case: RC) ของการประเมินความคุ้มค่า ซึ่งมิได้พิจารณาถึงแนวคิดของการแพ ... -
ประโยชน์ของการศึกษาพันธุกรรมเชิงโมเลกุลและการคัดกรองสมาชิกครอบครัว สำหรับการวินิจฉัยโรค การตรวจคัดกรองในครอบครัว และค้นหายีนใหม่ของการเกิดโรคหัวใจที่มีสาเหตุมาจากพันธุกรรมที่ถ่ายทอดแบบยีนเดี่ยว หรือคล้ายคลึงกับยีนเดี่ยวในประชากรไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-09)วัตถุประสงค์: เพื่อหาสาเหตุทางพันธุกรรมในผู้ป่วยโรคหัวใจที่ถ่ายทอดแบบยีนเดี่ยว สร้างฐานข้อมูลของผู้ป่วยกลุ่มนี้ ตรวจคัดกรองโรคในญาติของผู้ป่วย รวมถึงหาผลลัพธ์ (yield) ของการตรวจในทั้งผู้ป่วยและญาติและหาความคุ้มทุนของการต ... -
รายงานประจำปี 2566 สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข : เสริมสร้างความมั่นคงระบบสุขภาพไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-10)สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) เป็นองค์กรหลักที่สนับสนุนให้เกิดผลงานวิจัยและนวัตกรรม รวมทั้งผลักดันขับเคลื่อนการใช้ประโยชน์จากผลงานวิจัยและนวัตกรรมช่วยแก้ปัญหา วางรากฐาน และสร้างเศรษฐกิจ เพื่อให้ประชาชนชาวไทยมีสุขภาพดี ... -
การพัฒนารูปแบบชุมชนเป็นศูนย์กลางในการป้องกันการใช้กัญชาในทางที่ผิด
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-09)ความเป็นมา สืบเนื่องจากประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ระบุชื่อยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 พ.ศ. 2565 และประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง สมุนไพรควบคุม (กัญชา) พ.ศ. 2565 ส่งผลให้สารสกัดจากทุกส่วนของพืชกัญชาหรือกัญชง ไม่ถูกจัดให้เ ... -
ทุกนโยบายห่วงใยสุขภาพ เพื่อป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2566 (ปีที่ 2)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-12)สาเหตุการเสียชีวิตส่วนใหญ่ในประเทศไทย มากกว่าร้อยละ 75 ล้วนแล้วแต่มีสาเหตุจากโรคไม่ติดต่อ เช่น โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคไต ซึ่งสามารถป้องกันการเกิดโรคได้ โดยการจัดการควบคุมปัจจัยเสี่ยงทางด้านพฤติก ...