Research Reports
Browse by
Creative Commond
Recent Submissions
-
ข้อเสนอนโยบายและแนวทางการบริหารจัดการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลที่ถ่ายโอนไปสู่องค์การบริหารส่วนจังหวัดตามเกณฑ์คุณภาพมาตรฐานบริการปฐมภูมิ พ.ศ. 2566
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-01)การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Method) มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาเปรียบเทียบการดำเนินงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ภายหลังการถ่ายโอนภารกิจ ตามเกณฑ์คุณภาพมาตรฐานบริการปฐมภูมิ พ.ศ. 2566 ... -
การพัฒนาตัวชี้วัดและจัดทำรายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพไทย ตามพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 เรื่องการเงินการคลังด้านสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-11)งานวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการตามพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 และธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติฉบับที่ 3 พ.ศ. 2565 ซึ่งกำหนดให้คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติติดตามและประเมินผลสถานการณ์ระบบสุขภาพ และมีการทบทวนธ ... -
การจัดทำร่างแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 13 พ.ศ. ....
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-11)รัฐบาลได้มีการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) เป็นแผนแม่บทหลักในการพัฒนาประเทศ (แผนระดับที่ 1) โดยมีการจัดทำแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติเพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดเอาไว้ และสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศร ... -
ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาบทบาทของศูนย์วิชาการในการสนับสนุนการดำเนินงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-11)ศูนย์วิชาการ กระทรวงสาธารณสุข มีบทบาทหน้าที่หลักในการขับเคลื่อนภารกิจเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาการให้กับกรมวิชาการ กระทรวงสาธารณสุข โดยการศึกษา วิจัย พัฒนา และถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยี ดำเนินงานส่งเสริม ป้องกัน เฝ้าระวัง ควบคุม ... -
การแพทย์แม่นยําในทารกที่มีผลการตรวจคัดกรองทารกแรกเกิดผิดปกติ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-12)ทารกที่มีผลเลือดตรวจคัดกรองภาวะพร่องฮอร์โมนไทรอยด์แต่กำเนิดและโรคพันธุกรรมเมตาบอลิกผิดปกติ มีความเสี่ยงสูงที่จะเป็นโรค จะได้รับการตรวจเพิ่มเติมเพื่อยืนยันผลการตรวจคัดกรองว่าเป็นโรค ซึ่งในบางโรคอาจต้องใช้การตรวจหลายอย่างใ ... -
การตรวจติดตามรอยโรคมะเร็งเต้านมแบบไม่รุกรานด้วยการตรวจดีเอ็นเอมะเร็งในเลือดแบบแม่นยํา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-12)โรคมะเร็งเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญของประเทศ มะเร็งเป็นโรคที่เกิดจากการกลายพันธุ์ที่มีความหลากหลายสูง และในผู้ป่วยแต่ละรายมีการกลายพันธุ์ที่ไม่เหมือนกัน ปัจจุบันการตรวจติดตามด้วยภาพถ่ายทางรังสีและการตรวจหาค่ามะเร็ง เช่น CEA ... -
การพัฒนาแนวทางการประเมินความคุ้มค่า (Reference Case) สำหรับการแพทย์เฉพาะบุคคล หรือการแพทย์แม่นยํา เพื่อพิจารณาในชุดสิทธิประโยชน์ของระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย ส่วนที่ 2: ความคุ้มทุนของการทดสอบ Cascade Testing สำหรับโรคคอเลสเตอรอลสูงทางพันธุกรรมในประเทศไทย: การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบของวิธีการการจัดลำดับ Genome Sequencing ในช่วงการพัฒนาเทคโนโลยีที่แตกต่างกัน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-12)วัตถุประสงค์: Whole exome sequencing (WES) เป็นวิธีวิเคราะห์พื้นฐานที่ใช้ในการวินิจฉัยโรคคอเลสเตอรอลสูงทางพันธุกรรม (familial hypercholesterolemia, FH) และในปัจจุบันมีการพัฒนาเทคนิค long-read sequencing (LRS) ซึ่งทำให้สา ... -
การพัฒนาแนวทางการประเมินความคุ้มค่า (Reference Case) สำหรับการแพทย์เฉพาะบุคคล หรือการแพทย์แม่นยํา เพื่อพิจารณาในชุดสิทธิประโยชน์ของระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย ส่วนที่ 1: การพัฒนากรอบแนวคิด PICCOTEAM Reference Case ในการประเมินความคุ้มค่าสำหรับการแพทย์เฉพาะบุคคลหรือการแพทย์แม่นยำ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-12)ความเป็นมา: การประเมินความคุ้มค่า (economic evaluations: EEs) ของการแพทย์แม่นยำ (precision medicine: PM) ในปัจจุบันมักเป็นไปตามแนวทางมาตรฐาน (Reference Case: RC) ของการประเมินความคุ้มค่า ซึ่งมิได้พิจารณาถึงแนวคิดของการแพ ... -
ประโยชน์ของการศึกษาพันธุกรรมเชิงโมเลกุลและการคัดกรองสมาชิกครอบครัว สำหรับการวินิจฉัยโรค การตรวจคัดกรองในครอบครัว และค้นหายีนใหม่ของการเกิดโรคหัวใจที่มีสาเหตุมาจากพันธุกรรมที่ถ่ายทอดแบบยีนเดี่ยว หรือคล้ายคลึงกับยีนเดี่ยวในประชากรไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-09)วัตถุประสงค์: เพื่อหาสาเหตุทางพันธุกรรมในผู้ป่วยโรคหัวใจที่ถ่ายทอดแบบยีนเดี่ยว สร้างฐานข้อมูลของผู้ป่วยกลุ่มนี้ ตรวจคัดกรองโรคในญาติของผู้ป่วย รวมถึงหาผลลัพธ์ (yield) ของการตรวจในทั้งผู้ป่วยและญาติและหาความคุ้มทุนของการต ... -
การพัฒนารูปแบบชุมชนเป็นศูนย์กลางในการป้องกันการใช้กัญชาในทางที่ผิด
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-09)ความเป็นมา สืบเนื่องจากประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ระบุชื่อยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 พ.ศ. 2565 และประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง สมุนไพรควบคุม (กัญชา) พ.ศ. 2565 ส่งผลให้สารสกัดจากทุกส่วนของพืชกัญชาหรือกัญชง ไม่ถูกจัดให้เ ... -
ทุกนโยบายห่วงใยสุขภาพ เพื่อป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2566 (ปีที่ 2)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-12)สาเหตุการเสียชีวิตส่วนใหญ่ในประเทศไทย มากกว่าร้อยละ 75 ล้วนแล้วแต่มีสาเหตุจากโรคไม่ติดต่อ เช่น โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคไต ซึ่งสามารถป้องกันการเกิดโรคได้ โดยการจัดการควบคุมปัจจัยเสี่ยงทางด้านพฤติก ... -
การศึกษาแบคทีเรียและโปรตีโอมน้ำลายที่จำเพาะกับโรคปริทันต์ในผู้ป่วยที่เป็นโรคพันธุกรรมภูมิคุ้มกันหายาก (ปี พ.ศ. 2566)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-11)ปัญหาทางปากมีผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญต่อผู้ที่เป็นโรคพันธุกรรมภูมิคุ้มกันหายาก (Inborn Error of Immunity, IEI) ซึ่งทำให้สุขภาพและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเสื่อมลง โครงการนี้มุ่งเน้นการสำรวจลักษณะในช่องปากและฟัน ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ... -
การศึกษาผลของนโยบายการแพทย์ทางไกลภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2565-2567
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-10-14)ภูมิหลัง ในปี พ.ศ. 2566 มูลนิธิเพื่อการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ (HITAP Foundation) ได้ดำเนินการศึกษาในหัวข้อ “การจัดทำข้อเสนอแนะเพื่อสนับสนุนการพัฒนาแนวปฏิบัติและแนวทางการติดตามประเมินผลของระบบการแพทย์ทางไกล ... -
การพัฒนาระบบฐานข้อมูลการตรวจคัดกรองการได้ยินเพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการตรวจวินิจฉัย รักษา และฟื้นฟูสมรรถภาพตั้งแต่แรกเริ่มในทารกแรกเกิด
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-11)ประเทศไทยได้มีนโยบายในการเพิ่มสิทธิประโยชน์ในหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า สำหรับการตรวจคัดกรองการได้ยินในทารกแรกเกิดทุกราย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2565 เพื่อมุ่งหวังในการค้นหาเด็กที่มีความพิการทางการได้ยินตั้งแต่อายุยังน้อย ... -
การประเมินระบบเฝ้าระวังโรคที่เกิดจากฝุ่นละออง PM2.5 สำหรับเขตสุขภาพที่ 8 (กรณีศึกษานำร่องจังหวัดหนองคาย และนครพนม)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-11)ประเทศไทยกำลังเผชิญกับปัญหามลพิษทางอากาศจาก PM2.5 ที่เกินมาตรฐานทุกปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตสุขภาพที่ 8 (จังหวัดนครพนม และจังหวัดหนองคาย) ที่ได้รับผลกระทบอย่างมาก การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินระบบเฝ้าระวัง PM2.5 ... -
ฐานข้อมูลภูมิทัศน์จีโนมของมะเร็งลำไส้ใหญ่ชาวไทยเพื่อการแพทย์แม่นยำ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-09)ปัจจุบันเทคโนโลยีการศึกษาการแสดงออกของยีนสามารถแบ่งมะเร็งลำไส้ออกเป็นรูปแบบต่าง ๆ (consensus molecular subtypes, CMS) ซึ่งเป็นแนวทางในการศึกษากลไกการเปลี่ยนแปลงมะเร็งลำไส้ รวมถึงการมุ่งเน้นเพื่อการรักษาโดยเฉพาะ ... -
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพผู้อำนวยการกองสาธารณสุข ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดในการรับถ่ายโอนภารกิจระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-08)การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์หลัก 3 ข้อ คือ 1) เพื่อศึกษาสถานการณ์การบริหารจัดการระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิของผู้อำนวยการกองสาธารณสุขขององค์การบริหารส่วนจังหวัดในการรับถ่ายโอนภารกิจระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ 2) เพื่อศึกษารูปแบบการ ... -
ฐานข้อมูลจีโนมของเชื้อก่อโรคประจำถิ่น Pythium Insidiosum เพื่อการศึกษาความหลากหลายทางพันธุศาสตร์และโปรตีนที่ไม่ทราบหน้าที่ สำหรับการค้นหากระบวนการใหม่ของเซลล์ การก่อโรค และการวินิจฉัยและการรักษาการติดเชื้อ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-09)เชื้อ P. insidiosum เป็นเชื้อในกลุ่ม oomycetes ที่สามารถก่อโรค pythiosis ในคนและสัตว์ มีรายงานการพบโรคนี้มากขึ้นทั่วโลก ประเทศไทยเป็นประเทศหนึ่งที่มีโรค pythiosis ชุก การวินิจฉัยทำได้ยาก การรักษายังเป็นปัญหาเนื่องจากไม่ม ... -
การสำรวจความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชนไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2566 (ครั้งที่ 2) การส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในประเทศไทย: การประเมินสถานการณ์ปัจจุบัน ปัจจัยกำหนด และข้อเสนอเชิงนโยบาย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-11)ความเป็นมาและความสำคัญ: ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy; HL) เป็นทักษะของบุคคลในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากข้อมูลเพื่อตัดสินใจดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างเหมาะสม ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาสุขภาวะของประชากร วัตถุประสงค์: ... -
การศึกษานำร่องข้อมูล Exome และ Transcriptome ในมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักในผู้ป่วยคนไทยด้วยวิธี Next-Generation Sequencing (NGS)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-11)ปัจจุบันความรู้ด้านจีโนมิกส์และเทคโนโลยีในการวิเคราะห์รหัสพันธุกรรมมนุษย์มีความก้าวหน้าเป็นอย่างมาก และถูกนำไปประยุกต์ใช้ทางการแพทย์ในหลายประเทศ โครงการวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมาย คือ นำความรู้ด้านจีโนมิกส์มาพัฒนาการแพทย์สมัยใ ...