Now showing items 1-20 of 28

    • Aligning Genomic Ecosystem for South Thai Genome 

      สุรศักดิ์ สังขทัต ณ อยุธยา; Surasak Sangkhathat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07-07)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการ 30 ปี สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ก้าวสู่ทศวรรษที่ 4 : ร่วมกันวิจัย ยกระดับคุณภาพชีวิต (To the Next Decade : Enhance Research for Life) วันที่ 7-8 กรกฎาคม 2565 ณ โรงแรมอัศวิน แกรนด์ ...
    • Big Data ฐานข้อมูลพันธุกรรมคนไทย ใครบ้างจะได้ประโยชน์ 

      ศิษเฎศ ทองสิมา; Sissades Tongsima (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07-07)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการ 30 ปี สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ก้าวสู่ทศวรรษที่ 4 : ร่วมกันวิจัย ยกระดับคุณภาพชีวิต (To the Next Decade : Enhance Research for Life) วันที่ 7-8 กรกฎาคม 2565 ณ โรงแรมอัศวิน แกรนด์ ...
    • Cancer Precision Medicine: New Paradigm of Cancer Care 

      มานพ พิทักษ์ภากร; Manop Pithukpakorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07-07)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการ 30 ปี สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ก้าวสู่ทศวรรษที่ 4 : ร่วมกันวิจัย ยกระดับคุณภาพชีวิต (To the Next Decade : Enhance Research for Life) วันที่ 7-8 กรกฎาคม 2565 ณ โรงแรมอัศวิน แกรนด์ ...
    • Genomics Thailand 

      สรนิต ศิลธรรม; Soranit Siltharm (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07-07)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการ 30 ปี สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ก้าวสู่ทศวรรษที่ 4 : ร่วมกันวิจัย ยกระดับคุณภาพชีวิต (To the Next Decade : Enhance Research for Life) วันที่ 7-8 กรกฎาคม 2565 ณ โรงแรมอัศวิน แกรนด์ ...
    • Genomics Thailand: Rare Diseases 

      วรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์; Vorasuk Shotelersuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07-07)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการ 30 ปี สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ก้าวสู่ทศวรรษที่ 4 : ร่วมกันวิจัย ยกระดับคุณภาพชีวิต (To the Next Decade : Enhance Research for Life) วันที่ 7-8 กรกฎาคม 2565 ณ โรงแรมอัศวิน แกรนด์ ...
    • กรอบวิจัยประจำปี 2566 แผนงานวิจัยจีโนมิกส์ประเทศไทย 

      บุณยวีร์ เอื้อศิริวรรณ; Boonyawee Aueasiriwon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01-28)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมก้าวสู่มิติใหม่กับการวิจัยพัฒนาระบบสุขภาพ วันที่ 28 มกราคม 2565 เวลา 08.30 – 16.30 น. (ในรูปแบบออนไลน์)
    • การตั้งและพัฒนาระบบการตรวจลำดับสารพันธุกรรมให้แก่ผู้ป่วยโรคพันธุกรรม โรคหายากและพิการ 

      วรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์; Vorasuk Shotelersuk; กัญญา ศุภปีติพร; Kanya Suphapeetiporn; ประสิทธิ์ เผ่าทองคำ; Prasit Phowthongkum; ฑัณฑริรา พรทวีทัศน์; Thantrira Porntaveetus; ชูพงศ์ อิทธิวุฒิ; Chupong Ittiwut; รุ่งนภา อิทธิวุฒิ; Rungnapa Ittiwut; จุรีรัตน์ โพธิ์แก้ว; Chureerat Phokaew; นรินทร์ อินทรักษ์; Narin Intarak; ศิรประภา ทองกอบเพชร; Siraprapa Tongkobpetch; เฉลิมพล ศรีจอมทอง; Chalurmpon Srichomthong; อัจจิมา อัศวพิทักษ์สกุล; Adjima Assawapitaksakul; อาญญฬิฎา บัวสงค์; Aayalida Buasong; วรรณนา เชฎฐ์เรืองชัย; Wanna Chetruengchai; ธนากร ธีรภานนท์; Thanakorn Theerapanon; กรรณธ์ญาณัฐษ์ ทวีรัชธรรม; Kanyanut Thaweerachathum; ฐิติยา วรรณไสย; Thitiya Wannasai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)
      โรคหายากพบในประชากรมากกว่า 350 ล้านคนทั่วโลก และมากกว่า 80 เปอร์เซ็นต์ของโรคเกิดจากสาเหตุทางพันธุกรรม โรคหายากจำนวนมากเป็นโรคที่มีความรุนแรงและทำให้เกิดความพิการแต่แรกเกิด การวินิจฉัยโรคหายากมีความซับซ้อนสูงมาก ...
    • การถอดรหัสพันธุกรรมทั้งจีโนมและการศึกษาองค์ประกอบทางชีววิทยาโอมิกส์ ในชิ้นเนื้อและเลือด นำไปสู่การพัฒนานวัตกรรมชุดตรวจเพื่อการคัดกรอง วินิจฉัย การรักษาแบบเฉพาะบุคคล และการติดตามการรักษาในผู้ป่วยโรคมะเร็งปอดที่ไม่มียีนกลายพันธุ์เฉพาะสำหรับยามุ่งเป้า ปี 2564 

      ธัญนันท์ ใบสมุทร; Thanyanan Baisamut; อาทิตย์ ไชยร้องเดื่อ; Arthit Chairoungdua; พุทธภูมิ ลำเจียกเทศ; Putthapoom Lumjiaktase; พิมทิพย์ สังวรินทะ; Pimtip Sanvarinda; วันวิสาข์ อุดมสินประเสริฐ; Wanvisa Udomsinprasert; นฤมล ตราชู; Narumol Trachu (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      ปัจจุบันการรักษาโรคมะเร็งปอดมีหลายวิธี ไม่ว่าจะเป็นการให้ยาเคมีบำบัดแบบดั้งเดิม หรือการรักษาแบบมุ่งเป้า หรือการรักษาด้วยยาภูมิคุ้มกันบำบัด ซึ่งเป็นวิธีการรักษาแบบใหม่ และได้ผลดีมาก โดยเพิ่มอัตราการรอดชีวิต รวมถึงเพิ่มอัต ...
    • การทำนายผลการรักษาด้วยยาเคมีบำบัดโดยใช้การวิเคราะห์ระดับทรานสคริปโตมิกส์และโปรตีโอมิกส์ในผู้ป่วยมะเร็งปอด 

      ปฤษณา เรืองรัตน์; Pritsana Raungrut; ปารมี ทองสุกใส; Paramee Thongsuksai; ณรงค์วิทย์ นาขวัญ; Narongwit Nakwan; ฑิตยา บุญส่ง; Thitaya Bunsong; ทิดารัตน์ รักเลิศ; Thidarat Ruklert (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-04)
      มะเร็งปอดชนิดอะดีโนคาร์ซิโนมามีอุบัติการณ์การเกิดและการตายสูงเป็นลำดับต้นๆ ของประชากรโลก ยาเคมีบำบัดยังคงเป็นส่วนสำคัญในการรักษา แต่อย่างไรก็ตามอัตราการตอบสนองต่อการรักษาก็ยังต่ำ การศึกษาในครั้งนี้จึงมุ่งเน้นไปที่ค้นหาโป ...
    • การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจยีน BRCA1/BRCA2 ในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมและมะเร็งรังไข่ เพื่อตรวจหาผู้ที่เป็นมะเร็งที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมในประเทศไทย 

      วราลักษณ์ ศรีนนท์ประเสริฐ; Varalak Srinonprasert; นริสา ตัณฑัยย์; Narisa Tantai; ศตนันทน์ มณีอ่อน; Satanun Maneeon; พงศ์ธวัช เลิศวิลัยวิทยา; Pongtawat Lertwilaiwittaya (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)
      โรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งรังไข่เป็นโรคที่พบได้บ่อยในเพศหญิง ในประเทศไทยมะเร็งเต้านมเป็นโรคที่มีอุบัติการณ์การเกิดมากที่สุดในเพศหญิง ส่วนโรคมะเร็งรังไข่พบได้เป็นอันดับ 6 โรคมะเร็งส่วนหนึ่งที่เกิดจากการถ่ายทอดทางพันธุกรรมจะ ...
    • การประเมินความคุ้มค่าและความเป็นไปได้ของการตรวจคัดกรองผู้ป่วยโรคพันธุกรรมเมตาบอลิกด้วยเทคโนโลยี Tandem Mass Spectrometry (MS/MS) 

      รุ่งนภา คำผาง; Roongnapa Khampang; ภคนันท์ อังกาบ; Pakkanan Angkab; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; วิไลลักษณ์ แสงศรี; Wilailak Saengsri; สรายุทธ ขันธะ; Sarayuth Khuntha; ธมลวรรณ ดุลสัมพันธ์; Thamonwan Dulsamphan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)
      โรคพันธุกรรมเมตาบอลิกเป็นโรคหายากซึ่งประกอบด้วยโรคหลายร้อยชนิด อาการและอาการแสดงของโรคพันธุกรรมเมตาบอลิกสามารถเลียนแบบโรคในเด็กได้เกือบทุกโรค ซึ่งอาการแสดงอาจคล้ายโรคติดเชื้อ เช่น ซึม ไม่ดูดนม อาเจียน ชัก หอบ เป็นต้น ...
    • การพัฒนาการตรวจวิเคราะห์ระดับโมเลกุลเพื่อบ่งชี้การตอบสนองต่อการรักษาแบบจำเพาะบุคคลในผู้ป่วยโรคมะเร็งปอดชาวไทย (ปีที่ 3) 

      นรวรรธน์ พวงวรินทร์; Naravat Poungvarin; วิเชียร ศรีมุนินทร์นิมิต; Vichien Srimuninnimit; รุจิรา เรืองจิระอุไร; Ruchira Ruangchira-urai; วิโรจน์ ศรีอุฬารพงศ์; Virote Sriuranpong; ชนพ ช่วงโชติ; Shanop Shuangshoti; ธัญนันท์ เรืองเวทย์วัฒนา; Thanyanan Reungwetwattana; พิมพิณ อินเจริญ; Pimpin Incharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-07)
      โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายที่สำคัญของประชากรไทย การรักษาโรคมะเร็งแบบจำเพาะต่อบุคคล (personalized cancer medicine) ด้วยยารักษาแบบมุ่งเป้า (targeted therapy) เป็นแนวทางการรักษาแนวใหม่ที่มีประสิทธิภาพสูงในการทำลายเซลล์มะเร็ง ...
    • การพัฒนาชุดตรวจหาการกลายพันธุ์ของยีนนิวคลีโอฟอสมินในผู้ป่วยโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดมัยอีลอยด์เพื่อการรักษาอย่างแม่นยำ 

      สุวิทย์ ด้วงมะโน; Suwit Duagmano; วุฒิโชติ จันทร์แสนตอ; Wuttichote Jansaento; ทรงยศ อนุชปรีดา; Songyot Anuchapreeda; จินตนา ยาโนละ; Jintana Yanola; อดิศักดิ์ ตันติวรวิทย์; Adisak Tantiworawit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      การกลายพันธุ์ (mutation) ของยีนนิวคลีโอฟอสมิน (nucleophosmin; NPM1) เป็นการเปลี่ยนแปลงในระดับโมเลกุลที่พบมากที่สุดในโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดมัยอีลอยด์ (acute myelogenous leukemia; AML) โดยเฉพาะในผู้ป่วยที่มีจำน ...
    • การพัฒนาสิทธิประโยชน์สำหรับการวินิจฉัย ดูแลรักษาและป้องกันโรคปอมเปย์ สำหรับผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; Montarat Thavorncharoensap; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ดวงฤดี วัฒนศิริชัยกุล; Duangrurdee Wattanasirichaigoon; กัญญา ศุภปีติพร; Kanya Suphapeetiporn; ทิพยวิมล ทิมอรุณ; Thipwimol Tim-Aroon; จุฬาลักษณ์ คุปตานนท์; Chulaluck Kuptanon; พลกร กิจศิริวัฒนกุล; Ponlakorn Kitsiriwattanakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ กรณีการวินิจฉัยดูแลรักษาฟื้นฟูและป้องกันโรค เพื่อการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคปอมเปย์ สำหรับผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โดยใช้ข้อมูล ...
    • การพัฒนาสิทธิประโยชน์สำหรับการวินิจฉัย ดูแลรักษาและป้องกันโรคเอ็มพีเอสสำหรับผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; Montarat Thavorncharoensap; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ดวงฤดี วัฒนศิริชัยกุล; Duangrurdee Wattanasirichaigoon; อัจฉรา เสถียรกิจการชัย; Achara Sathienkijkanchai; ทิพยวิมล ทิมอรุณ; Thipwimol Tim-Aroon; จุฬาลักษณ์ คุปตานนท์; Chulaluck Kuptanon; ชัยศิริ เหลืองสินศิริ; Chaisiri Luangsinsiri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ กรณีการวินิจฉัยดูแลรักษาฟื้นฟูและป้องกันโรค เพื่อการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคเอ็มพีเอส สำหรับผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จากการทบทว ...
    • การศึกษาภาวะพหุสัณฐานของนิวคลีโอไทด์เดี่ยวที่พบบ่อยในผู้ป่วยโรคเรื้อรังของประเทศไทยโดยใช้ชิป 

      ทัศมลวรรณ ไชยสังข์; Tassamonwan Chaiyasung; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol; ปุณณา คุณหพันธ์; Punna Kunhapan; จักรกฤษณ์ เอื้อสุนทรวัฒนา; Jakris Eu-ahsunthornwattana (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-08)
      การศึกษาภาวะพหุสัณฐานของนิวคลีโอไทด์เดี่ยวที่พบบ่อยในผู้ป่วยโรคเรื้อรังของประเทศไทยโดยใช้ชิป เป็นโครงการที่ดำเนินการศึกษาในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน 1,800 ตัวอย่าง โดยในปีที่ 1 รับตัวอย่างจาก 4 โครงการ เพื่อดำเนินการ ...
    • การศึกษาเอกโซมของผู้เสียชีวิตกลุ่มอาการตายโดยมิปรากฏเหตุแบบฉับพลันในกลุ่มประชากรไทยที่เสียชีวิตในอายุน้อย 

      กรเกียรติ วงศ์ไพศาลสิน; Kornkiat Vongpaisarnsin; ทิฆัมพร สถิรแพทย์; Tikumphorn Sathirapatya; ปุณยภัทร สุขวุฒิยา; Poonyapat Sukawutthiya; ฮัสนีย์ โนะ; Hasnee Noh; ภัคค์ปภัส วรัชต์ญารมย์; Pagparpat Varrathyarom; รัชติพรรณ ปิติวรารมย์; Rachtipan Pitiwararom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-08)
      การตรวจสารพันธุกรรมเพื่อใช้ในการหาปัจจัยทางพันธุกรรมที่เป็นสาเหตุของการก่อโรคหรือมีความสัมพันธ์ต่อการเกิดโรคนั้น ถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายทางการแพทย์ในปัจจุบัน ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการค้นหายีนก่อโรคที่หายากหรือโรคที่มีปัจจัย ...
    • ข้อมูลรหัสพันธุกรรม คืออะไร 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. หน่วยงานขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการบูรณาการจีโนมิกส์ประเทศไทย; Health Systems Research Institute. Genomics Thailand Coordinating Unit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03-30)
      รหัสพันธุกรรมของมนุษย์ เป็นพิมพ์เขียวที่กำหนดว่าเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆ ในร่างกายของคนเราแต่ละคน ควรมีการทำงานอย่างไร รหัสพันธุกรรมนี้อยู่ในดีเอ็นเอ (DNA) และ อาร์เอ็นเอ (RNA) ภายในเซลล์ต่างๆ ได้รับการถ่ายทอดมาจากพ่อแม่ ...
    • ความแตกต่างทางพันธุกรรม: สู่การแพทย์จีโนมิกส์ ถอดรหัสพันธุกรรมรักษาตรงเหตุ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. หน่วยงานขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการบูรณาการจีโนมิกส์ประเทศไทย; Health Systems Research Institute. Genomics Thailand Coordinating Unit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-10)
      ปัจจุบันเทคโนโลยีในการถอดลำดับยีนหรือสารพันธุกรรมมีความก้าวหน้ามากขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้นักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย ตลอดจนแพทย์ สามารถค้นพบการกลายพันธุ์ในยีนก่อโรคยีนใหม่ที่เป็นสาเหตุของโรคต่างๆ หรือแม้กระทั่งโรคที่หาพบได้ยากในคนไทย ...
    • จีโนมิกส์ ประเทศไทย 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)
      Infographic แนะนำแผนงานจีโนมิกส์ ประเทศไทย (Genomics Thailand) การแพทย์จีโนมิกส์ คือ การแพทย์ที่อาศัยเทคโนโลยีพันธุศาสตร์ระดับโมเลกุล เพื่อประเมินความเสี่ยง วินิจฉัย และพยากรณ์โรค วิสัยทัศน์ คือ ประเทศไทยเป็นผู้นำด้านการ ...