Browsing by Subject "Telehealth"
Now showing items 1-20 of 20
-
การจัดทำข้อเสนอแนะเพื่อสนับสนุนการพัฒนาแนวปฏิบัติและแนวทางการติดตามประเมินผลของระบบการแพทย์ทางไกล ผ่านการถอดบทเรียนในบริบทไทยและบริบทโลก
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-01)ภูมิหลัง : การแพทย์ทางไกลหรือโทรเวช (Telemedicine) ถือเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณสุขบนโลกดิจิทัล (Digital Health) โดยเป็นความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่ช่วยส่งเสริมให้การให้บริการทางการแพทย์เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ... -
การประเมินการดำเนินการเพิ่มศักยภาพเครือข่ายระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ เพื่อให้การดูแลผู้ป่วยโควิด-19 ที่บ้าน ในช่วงเวลาที่เกิดวิกฤติระบบสุขภาพในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งเป็นโรคอุบัติใหม่ ช่วงกลางปี พ.ศ. 2564 นำไปสู่ปัญหาวิกฤติระบบสุขภาพในกรุงเทพมหานครที่ผู้ป่วยหนักไม่สามารถเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล ราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ ... -
การประเมินผลการจัด Acute Respiratory Infection (ARI) Clinics เพื่อการดำเนินงานตรวจรักษาและควบคุมโรคโควิด-19 โรงพยาบาลรามาธิบดี
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-04)การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบบรรยาย (Descriptive qualitative research design) โดยใช้วิธีการวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยใช้ CIPP Model เป็นกรอบแนวคิดในการวิจัย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ประเมินโครงสร้างของระบบการจัดการ ... -
การพัฒนาต้นแบบโปรแกรมการส่งเสริมพัฒนาการเด็กกลุ่มบกพร่องทางสติปัญญาและพัฒนาการวัยแรกเกิดถึง 5 ปี ในรูปแบบบริการออนไลน์ กรณีศึกษาสถาบันราชานุกูลในช่วงการระบาดไวรัส COVID-19
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-08)การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาต้นแบบโปรแกรมการส่งเสริมพัฒนาการเด็กกลุ่มบกพร่องทางสติปัญญาและพัฒนาการวัยแรกเกิดถึง 5 ปี ในรูปแบบบริการออนไลน์ และเพื่อศึกษาประสิทธิ ... -
การพัฒนาระบบการแพทย์ทางไกลเพื่อการดูแลรักษาผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง บทเรียนจากการระบาดของ โควิด-19
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)ภูมิหลังและเหตุผล ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ได้รับการบำบัดทดแทนไตถือได้ว่าเป็นประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงที่มีความเสี่ยงในการติดเชื้อโควิด-19 จากนโยบายการเว้นระยะห่างทางสังคม ทำให้โรงพยาบาลต้องเลื่อนนัดผู้ป่วยออกไป ระเบียบวิธีศึกษา ... -
การวิจัยประเมินเพื่อพัฒนารูปแบบการจ่ายเพื่อสนับสนุนระบบการจัดบริการสุขภาพ วิถีใหม่นอกโรงพยาบาล สำหรับผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (ปีที่ 1)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)การระบาดของโรคโควิด-19 ทำให้เกิดผลกระทบในระบบสุขภาพในประเด็นความต่อเนื่องของการส่งมอบบริการสำหรับผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ทั้งจากสถานการณ์ของจำนวนผู้ติดเชื้อเองและผลจากมาตรการนโยบายต่างๆ ที่ใช้ควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขและสำนั ... -
การศึกษาการเพิ่มอัตราการเข้าถึงบริการชุดสิทธิประโยชน์การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่ส่งเสริมการเกิดอย่างมีคุณภาพ ผ่าน Telehealth
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-06)โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นโครงการที่ทำให้ประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึงบริการทางการแพทย์ได้อย่างทั่วถึง โดยเฉพาะการให้ความสำคัญของบริการส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค (Promotion and Prevention, P&P) ซึ่งเป็นสิทธิประโยช ... -
การศึกษาผลของนโยบายการแพทย์ทางไกลภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2565-2567
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-10-14)ภูมิหลัง ในปี พ.ศ. 2566 มูลนิธิเพื่อการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ (HITAP Foundation) ได้ดำเนินการศึกษาในหัวข้อ “การจัดทำข้อเสนอแนะเพื่อสนับสนุนการพัฒนาแนวปฏิบัติและแนวทางการติดตามประเมินผลของระบบการแพทย์ทางไกล ... -
การศึกษาสถานการณ์และความต้องการด้านเทคโนโลยีโทรสุขภาพของสถานบริการสุขภาพชุมชนในพื้นที่ห่างไกลจังหวัดน่าน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-05)การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาสถานการณ์และความต้องการด้านเทคโนโลยีโทรสุขภาพ (Telehealth) ของสถานบริการสุขภาพชุมชนในพื้นที่ห่างไกลจังหวัดน่าน และ 2. เพื่อออกแบบและทดลองระบบเทคโนโลยีโทรสุขภาพของสถานบริกา ... -
การศึกษาสถานการณ์และพัฒนาระบบเพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการรายบุคคลด้วยสาธารณสุขทางไกล (ระยะที่ 1)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07-15)การศึกษาสถานการณ์และพัฒนาระบบเพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการรายบุคคลด้วยสาธารณสุขทางไกล (ระยะที่1) นี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยทำการสำรวจสถานการณ์การเข้าถึงอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการประเภทรถเข็นในประ ... -
คู่มือสำหรับนักกายภาพบำบัด การดูแลรักษาฟื้นฟูผู้ป่วยโรคโควิด 19 ในระยะผู้ป่วยใน และผู้ป่วยนอก
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)คู่มือสำหรับนักกายภาพบำบัด การดูแลรักษาฟื้นฟูผู้ป่วยโรคโควิด 19 ในระยะผู้ป่วยใน และผู้ป่วยนอก เล่มนี้ เป็นคู่มือที่จัดทำขึ้นสำหรับนักกายภาพบำบัด มีเนื้อหาประกอบไปด้วย แนวทางปฏิบัติงานของนักกายภาพบำบัด คุณสมบัติของนักกายภาพบำบัด ... -
คู่มือโปรแกรมการส่งเสริมพัฒนาการเด็กกลุ่มบกพร่องทางสติปัญญาและพัฒนาการวัยแรกเกิดถึง 5 ปี ในรูปแบบบริการปกติ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข (โปรแกรมTEDA4I Onsite)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-08)คู่มือโปรแกรมการส่งเสริมพัฒนาการเด็กกลุ่มบกพร่องทางสติปัญญาและพัฒนาการวัยแรกเกิดถึง 5 ปี ในรูปแบบบริการปกติ (TEDA4I Onsite) สำหรับบุคลากรสาธารณสุข จัดทำขึ้นภายใต้โครงการวิจัยเรื่อง การพัฒนาต้นแบบโปรแกรมการส่งเสริมพัฒนากา ... -
คู่มือโปรแกรมการส่งเสริมพัฒนาการเด็กกลุ่มบกพร่องทางสติปัญญาและพัฒนาการวัยแรกเกิดถึง 5 ปี ในรูปแบบบริการออนไลน์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข (โปรแกรม TEDA4I Online)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-08)คู่มือโปรแกรมการส่งเสริมพัฒนาการเด็กกลุ่มบกพร่องทางสติปัญญาและพัฒนาการวัยแรกเกิดถึง 5 ปี ในรูปแบบบริการออนไลน์ (โปรแกรม TEDA4I Online) สำหรับบุคลากรสาธารณสุข จัดทำขึ้นภายใต้โครงการวิจัยเรื่อง การพัฒนาต้นแบบโปรแกรมการส่งเ ... -
ถอดบทเรียนรูปแบบการดูแลทางไกลด้วยระบบแยกกักตัวที่บ้านในมุมของกำลังคนด้านสุขภาพ ในเขตสุขภาพที่ 12
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-08)จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ที่ส่งผลให้อัตรากำลังคนด้านสุขภาพไม่เพียงพอต่อการดูแลผู้ติดเชื้อ ก่อให้เกิดรูปแบบการดูแลแบบแยกกักตัวที่บ้านและกลุ่มจิตอาสาด้านสุขภาพขึ้นโดยใช้รูปแบบการดูแลทางไกล การศึกษาครั้งนี้มีว ... -
ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของนวัตกรรมการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังแบบไร้รอยต่อและครอบคลุมด้วยระบบสุขภาพระยะไกล
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-01)โครงการป้องกันและชะลอโรคไตเรื้อรังในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ดำเนินการสร้างรูปแบบ (โมเดล) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและลดปัญหาสุขภาพในชุมชน ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา พบว่าสิ่งที่มีผลต่อการดูแลรักษาที่ดี คือ การได้รับการดูแลแบบเ ... -
ผลกระทบจากการระบาดของโควิด-19 และรูปแบบการให้บริการกิจกรรมบำบัดทางไกลในยุคชีวิตวิถีใหม่
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)งานวิจัยแบบผสมผสานครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนาต่อรูปแบบการให้บริการกิจกรรมบำบัดในประเทศไทยและความเป็นไปได้ในการนำรูปแบบจากต่างประเทศมาใช้ในบริบทสังคมไทย โดยสำรวจความคิดเห็นจากนักกิ ... -
ผลกระทบจากการระบาดของโรคโควิด 19 ต่อการทำกิจกรรมการดำเนินชีวิตและรูปแบบการให้บริการทางกิจกรรมบำบัดที่ตอบสนองต่อยุคชีวิตวิถีใหม่
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01-29)การวิจัยนี้เป็นการศึกษาแบบผสมผสาน (mixed method) ประกอบด้วยการวิจัยเชิงปริมาณด้วยแบบสอบถามและการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการสนทนากลุ่ม เพื่อศึกษาผลกระทบของสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (COVID-19) ต่อการทำกิจกรรมการดำเนิน ... -
ผลของการจัดสรรกำลังคนสุขภาพในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขระดับพื้นที่ต่อการให้บริการโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงและผลลัพธ์ทางสุขภาพของประชาชนใน 4 จังหวัด
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-08)งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาระบบการจัดบริการรักษา สร้างเสริมและป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในโรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) 2. ศึกษาการบริหารจัดการกำลังคนสุขภาพสำหรับการให้บริก ... -
ผลของโปรแกรมการฟื้นฟูที่โรงพยาบาลและการฟื้นฟูทางไกลจากที่บ้านต่อการทำงานของหัวใจและปอด ในผู้ป่วยโรคโควิด 19
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)ที่ผ่านมามีผู้เชี่ยวชาญหลายท่านให้คำแนะนำเกี่ยวกับโปรแกรมการรักษาทางกายภาพบำบัดในผู้ป่วยโรคโควิด 19 แต่การศึกษาเกี่ยวกับผลของโปรแกรมฟื้นฟูในรูปแบบการแพทย์ทางไกลในผู้ป่วยโควิด 19 หลังจากออกจากโรงพยาบาลยังมีน้อย จึงเป็นที่ ... -
ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินวิถีใหม่สำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองของโรงพยาบาลรัฐและเอกชนในช่วงการระบาดของ COVID-19
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อ COVID-19 ในประเทศไทยส่งผลต่อการปรับเปลี่ยนระบบบริการสุขภาพทั้งภาครัฐและเอกชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการรักษาพยาบาลฉุกเฉิน โครงการวิจัยระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินวิถีใหม่สำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ...