Browsing by Subject "Vaccines"
Now showing items 1-20 of 34
-
Covid 19 Vaccine vs. Clinical Trial
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07-07)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการ 30 ปี สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ก้าวสู่ทศวรรษที่ 4 : ร่วมกันวิจัย ยกระดับคุณภาพชีวิต (To the Next Decade : Enhance Research for Life) วันที่ 7-8 กรกฎาคม 2565 ณ โรงแรมอัศวิน แกรนด์ ... -
COVID-19 Evidence Update: 10% ของชาวอิสราเอลที่ไม่รับวัคซีน ส่งผลอย่างไรกับวิกฤตโควิดระลอกใหม่ในประเทศ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)ในปัจจุบัน 15% (ประมาณ 1,105,000 คน) ของชาวอิสราเอลที่มีอายุเกิน 12 ปี และ 10% (ประมาณ 755,000 คน) ที่มีอายุเกิน 20 ปี ยังคงไม่ได้รับวัคซีน ถึงแม้ว่าจะมีสิทธิรับวัคซีนก็ตาม และคนกลุ่มนี้เองที่มีรายงานว่าเป็นคนส่วนใหญ่ที่ ... -
COVID-19 Evidence Update: การฉีดวัคซีนโควิด-19 แบบสลับหรือเปลี่ยนชนิดในต่างประเทศ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)ในต่างประเทศมีการฉีดวัคซีนต่างชนิดหรือต่างบริษัทผู้ผลิต โดยเหตุผลส่วนใหญ่ คือ 1. ป้องกันการเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากวัคซีน (AstraZeneca ในเข็มสอง) 2. แก้ปัญหาวัคซีนขาดคราว 3. ฉีดกระตุ้นภูมิ (booster dose) ในประชากรกล ... -
COVID-19 Evidence Update: การศึกษาเรื่องการสลับวัคซีนโควิด-19 บอกอะไรเราบ้าง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)1. การศึกษาเรื่อง Com-COV1 พบว่าการฉีดวัคซีนแบบสลับด้วยวัคซีน AstraZeneca เข็มแรก และ Pfizer-BioNTech เป็นเข็มที่ 2 ห่างกัน 4 สัปดาห์ ให้ผลในการสร้างภูมิต้านทานบางชนิด ไม่ด้อยกว่าการฉีดวัคซีน AstraZeneca ทั้งสองเข็ม ... -
COVID-19 Evidence Update: มีประเทศใดบ้างที่แนะนำให้มีการฉีดวัคซีนกระตุ้นภูมิคุ้มกันโควิด-19 เข็มที่ 3
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)ณ วันที่ 14 กรกฎาคม 2564 มี 7 ประเทศ ได้แก่ ฝรั่งเศส สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ บาห์เรน ตุรกี สาธารณรัฐโดมินิกัน อินโดนีเซีย และสหราชอาณาจักร ที่มีนโยบายแนะนำให้มีการฉีดวัคซีนภูมิคุ้มกันโควิด 19 เข็มที่ 3 ซึ่งเป็นที่น่าสังเกตว่า ... -
COVID-19 Evidence Update: รู้หรือไม่ ข้อความแจ้งเตือนสามารถกระตุ้นให้คนมาฉีดวัคซีนมากขึ้นได้
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)ทุกประเทศมีประชาชนอย่างน้อยร้อยละ 10 ถึง 20 ไม่ยอมรับวัคซีนทั้งที่มีวัคซีนอย่างเพียงพอ ดังนั้นรัฐบาลประเทศต่างๆ จึงพยายามค้นหาวิธีทำให้ประชาชนรับวัคซีนโควิดได้มากที่สุด หนึ่งในกลยุทธ์ที่น่าสนใจและได้รับการพิสูจน์จากงานวิจัย ... -
COVID-19 Evidence Update: เมื่อวัคซีนทั่วโลก ปะทะ โควิดกลายพันธุ์ วัคซีนชนิดไหนลดอาการป่วยจากสายพันธุ์ต่างๆ ได้เท่าไหร่บ้าง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)ข้อมูลวัคซีนชนิดต่างๆ ในการลดอาการป่วยจากโควิดสายพันธุ์ต่างๆ -
COVID-19 Research Policy Brief รวมงานวิจัยและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเกี่ยวกับโควิด-19
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)เอกสารงานวิจัย เรื่อง COVID-19 Research Policy Brief รวมงานวิจัยและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเกี่ยวกับโควิด-19 ฉบับนี้ อยู่ภายใต้โครงการวิจัย การศึกษาประเด็นท้าทายเพื่อพัฒนากรอบการติดตามและการประเมินผลของนโยบายวัคซีนโควิด-19 ... -
การติดตามการเปลี่ยนแปลงของภูมิต้านทานระยะยาวต่อ SARS-CoV-2 ในผู้ป่วยที่หายจากโรคโควิด-19
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01)ประเทศไทยเป็นอีกประเทศที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคโควิด-19 ซึ่งส่งผลกระทบต่อระบบสาธารณสุข และ เศรษฐกิจของประเทศ ดังนั้นการพัฒนาความรู้ความเข้าใจในเชื้อ SARS-CoV-2 ให้รวดเร็วที่สุด จึงเป็นสิ่งสำคัญ ดังนั้นงานวิจัยนี้ ... -
การบริหารจัดการเวชภัณฑ์กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019: ปัญหา อุปสรรคในการจัดซื้อของภาครัฐ ภาคเอกชน และแนวทางแก้ไข
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)การวิจัยเรื่อง การบริหารจัดการเวชภัณฑ์กรณีโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 : ปัญหา อุปสรรคในการจัดซื้อของภาครัฐ ภาคเอกชน และแนวทางแก้ไข มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการจัดหาเวชภัณฑ์เกี่ยวกับโรค COVID-19 ได้แก่ วัคซีน ... -
การพัฒนาระบบระเบียนสุขภาพอิเล็กทรอนิกส์ส่วนบุคคล (Personal Health Record : PHR) เชื่อมต่อโปรแกรมการจัดการข้อมูลวัคซีนโควิด-19 ในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 9
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01)โครงการพัฒนาระบบระเบียนสุขภาพอิเล็กทรอนิกส์ส่วนบุคคล (Personal Health Record: PHR) เชื่อมต่อโปรแกรมการจัดการข้อมูลวัคซีนโควิด-19 ในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 9 มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ สังเคราะห์และพัฒนาระบบระเบียนสุขภาพส่ว ... -
การศึกษาการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันด้านเซลล์ต่อวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ขนาดต่างๆ ในผู้ป่วยฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-01-12)ความสำคัญและที่มา : มีการศึกษาก่อนหน้านี้พบว่าการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อการป้องกันการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่จากการได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ขนาดมาตรฐานในกลุ่มผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ต้องได้รับการล้างไตด้วยวิธีการฟอกเลือดนั้นมีร ... -
การศึกษาความปลอดภัยและการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อสายพันธุ์โอไมครอนของการฉีดวัคซีนเข็มที่ 3 ในชั้นผิวหนังและกล้ามเนื้อในผู้สูงอายุที่ได้รับวัคซีนแอสตร้าเซเนก้า 2 เข็ม
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01)วัคซีนโควิด-19 เข็มกระตุ้นมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องให้ในกลุ่มประชากรที่มีความเสี่ยงสูงหากมีการติดเชื้อโควิด-19 เช่น กลุ่มผู้สูงอายุ จากการศึกษาพบว่า การฉีดวัคซีนเข้าชั้นผิวหนังมีประสิทธิภาพเทียบเท่าการฉีดเข้าชั้นกล้ามเนื้อ ... -
การศึกษาความปลอดภัยและการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันหลังการได้รับวัคซีนโควิด-19 ด้วยการฉีดเข้าในผิวหนัง เพื่อประโยชน์สูงสุดในการบริหารจัดการวัคซีน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)หลักการและเหตุผล: เนื่องด้วยประเทศไทยมีการระบาดโรคโควิด-19 หลายระลอก เป็นเหตุให้การนำเข้าวัคซีนโควิด-19 ในช่วงแรกไม่เพียงพอต่อการกระจายวัคซีนให้กับประชากร ดังนั้น การให้วัคซีนด้วยการฉีดเข้าชั้นผิวหนัง (Intradermal: ID) ... -
การศึกษาประเด็นท้าทายเพื่อพัฒนากรอบการติดตามและการประเมินผลของนโยบายวัคซีนโควิด-19 ในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01)วัคซีนโควิด-19 ถือเป็นมาตรการที่เป็นความหวังอันสำคัญในการควบคุมสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคอย่างยั่งยืน และส่งผลทางอ้อมให้ภาครัฐสามารถผ่อนปรนมาตรการอื่นๆ ที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศทางด้านสังคมและเศรษฐกิจ ฉะนั้น ... -
การศึกษาภูมิคุ้มกันในผู้ที่หายและผู้ที่มีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อจากโรคโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่ (โควิด-19)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)เนื่องจากยังไม่มีการศึกษาวิจัยในประเทศไทยถึงการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อเชื้อ SARS-CoV-2 ในผู้กำลังติดเชื้อโรค COVID-19 และผู้ใกล้ชิดที่มีความเสี่ยงสูง งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ในการศึกษาการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันผ่านการสร้างแอนติบอดี ... -
การศึกษาระดับภูมิคุ้มกันของวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ขนาดมาตรฐานหนึ่งเข็ม เทียบกับ ขนาดมาตรฐานสองเข็ม ในผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)ความสำคัญและที่มา : การให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่กับผู้ป่วยไตเรื้อรังเป็นมาตรการสำคัญในการลดโอกาสการติดเชื้อและลดภาวะแทรกซ้อนหรืออัตราการเสียชีวิตที่เกิดจากการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่ เนื่องด้วยผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังมีการทำงานของร ... -
การศึกษาระดับภูมิคุ้มกันต่อโรคไวรัสตับอักเสบ เอ บี ซี หัด หัดเยอรมัน คางทูม สุกใส คอตีบ บาดทะยัก และไอกรน ในประชากรจังหวัดชลบุรี
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-08)วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาระดับภูมิคุ้มกันต่อโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนที่มีในแผนการสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน (Expanded Program on Immunization, EPI) ได้แก่ โรคไวรัสตับอักเสบ บี หัด หัดเยอรมัน คางทูม คอตีบ บาดทะยัก ไอกรน ... -
การศึกษาอาการไม่พึงประสงค์และความไม่ปลอดภัย ภายหลังการรับวัคซีนป้องกันโควิด-19 ของผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้สูงอายุ : กรณีศึกษาโรงพยาบาลรามาธิบดี กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)การศึกษาวิจัยเชิงบรรยาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอาการไม่พึงประสงค์และเปรียบเทียบการมีอาการไม่พึงประสงค์กับชนิดของวัคซีนป้องกันโควิด-19 กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7 กลุ่มโรค และผู้สูงอายุที่มารับวัคซีนป้องกันโควิด-19 ... -
การศึกษาเปรียบเทียบความปลอดภัยและผลภูมิต้านทานหลังได้รับวัคซีนโควิด-19 ชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอ 2 ครั้ง และการให้วัคซีนเชื้อตายตามด้วยวัคซีนชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอในเด็กอายุ 5 ถึง 11 ปี
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบความปลอดภัยและผลภูมิต้านทานหลังได้รับวัคซีนโควิด-19 ชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอ 2 เข็ม และการให้วัคซีนเชื้อตาย 1 หรือ 2 เข็ม และตามด้วยวัคซีนชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอในเด็กอายุ 5 ถึง 11 ปี วิธีการศึกษา: ...