Now showing items 21-40 of 57

    • การประเมินระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในช่วงทศวรรษแรก 2544-2553 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; หทัยชนก สุมาลี; ภูษิต ประคองสาย; วลัยพร พัชรนฤมล; จิรบูรณ์ โตสงวน; นุชรี ศรีวิโรจน์; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; วินัย ลีสมิทธิ์; พินิจ ฟ้าอำนวยผล; นุศราพร เกษสมบูรณ์; บุญชัย กิจสนาโยธิน; ครรชิต สุขนาค; จเด็จ ธรรมธัชอารี; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; สงครามชัย ลีทองดี; Hughes, David (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      ทำการประเมินในปี พ. ศ. 2554 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า และ ประเมินว่าการปฏิรูปในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ามีประเด็นใดบ้างที่ประสบผลสำเร็จ และประเด็นใดบ้างที่ไม่ประสบผลสำเร็จ ...
    • การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดบริการสาธารณสุข : กรณีศึกษาและบทเรียน 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Ponpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
    • การสนับสนุนการจัดการความรู้เพื่อสันติสุขภาวะภาคใต้ 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550-11)
    • การสร้างและจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนการพัฒนาบริการการแพทย์นอกกระแสหลัก : การแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์ทางเลือก 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Ponpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยสาธารณสุข, 2549)
      การบูรณาการการแพทย์นอกกระแสหลัก (unconventional medicine) เข้าสู่ระบบบริการสุขภาพ เป็นทั้งเป้าหมายและยุทธศาสตร์ในการพัฒนาการแพทย์นอกกระแสหลัก การบูรณาการดังกล่าวควรดำเนินการให้มีการใช้จุดแข็งของการแพทย์แต่ละระบบ ...
    • การสำรวจด้านโภชนาการ การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 4 พศ 2551-2552 

      วิชัย เอกพลากร; วราภรณ์ เสถียรนพเก้า; ศักดา พรึงลำภู (สำนักงานสำรวจสุขภาพประชาชนไทย, 2553)
      การสำรวจสุขภาพประชาชนครั้งที่ 4 พ.ศ. 2551- 2552 นี้เก็บข้อมูลในกลุ่มตัวอย่างประชากรไทยอายุตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ที่อาศัยใน 20 จังหวัดทั่วประเทศและกทม. จำนวน 29,485 คน คิดเป็นอัตราตอบกลับร้อยละ 93 โดยเป็น ตัวอย่างเด็กอายุ 1-14 ...
    • การใช้ข้อมูลป้อนกลับเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการบริหารงานเจ้าหน้าที่สถานีอนามัย 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (2537)
      การพัฒนาการใช้ข้อมูลข่าวสารเพื่อการพัฒนางาน เป็นการวิจัยในระดับพื้นที่ชิ้นนี้ เป็นตัวอย่างที่ดีที่ควรส่งเสริมให้มีการทำกันอย่างกว้างขวาง และหลากหลาย เพราะยิ่งทำกันมากเท่าใด งานสาธารณสุขก็จะดีมากเท่านั้น
    • ขับเคลื่อน รพ.สต. สู่การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนด้วย R2R Approach 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-07)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย ครั้งที่ 4 เรื่องเครือข่ายและนวัตกรรม R2R กับการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน วันที่ 22 กรกฎาคม 2554 เวลา 10.00-10.30 น. ณ Royal Jubilee Ballroom อาคารชาแลนเจอร์ ...
    • คลื่นลูกที่ 3 ของการปฏิรูประบบบริการสุขภาพในประเทศไทย 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การปฏิรูประบบบริการสุขภาพของประเทศไทยได้ก้าวสู่ระยะที่สาม หลังจากประสบความสำเร็จในการขยายความครอบคลุมสถานพยาบาลไปทั่วประเทศในระยะที่หนึ่ง และการปฏิรูประบบการเงินการคลังจนมีระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในระยะที่สอง ...
    • ความกันดารของพื้นที่ : หลักเกณฑ์การพิจารณา 

      ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย; ณิชากร ศิริกนกวิไล; พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์; พินิจ ฟ้าอำนวยผล; Kwanpracha Chiangchaisakulthai; Nichakorn Sirikanokvilai; Pongpisut Jongudomsuk; Somsak Chunharas; Pinij Fahamnuaypol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-09)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาหลักเกณฑ์และแนวทางการกำหนดความกันดารของพื้นที่ระดับอำเภอ เพื่อใช้อ้างอิงประกอบการจ่ายค่าตอบแทน “เบี้ยเลี้ยงเหมาจ่าย” แก่บุคลากรสาธารณสุข ทั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายงานข้อเสนอการปรับ ...
    • คู่มือการนวดไทยเพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ 

      สำลี ใจดี; พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; วันดี โภคะกุล; ประพจน์ เภตรากาศ; รัชนี จันทร์เกษ; สุดารัตน์ สุวรรณพงศ์; สุพัตรา สันทนานุการ (สถาบันสุขภาพวิถีไทย, 2552-08)
      คู่มือการนวดไทยเพื่อการเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ จัดทำขึ้นเพื่อให้ผู้สูงอายุได้นำความรู้ไปใช้ในการนวดตนเอง เพื่อให้มีสุขภาพดี ป้องกันอาการต่างๆ อันเนื่องจากสภาวะความเสื่อมตามวัย คู่มือการนวดไทยเพื่อการเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ ...
    • ทิศทางสาธารณสุขมูลฐานในทศวรรษที่สี่ของประเทศไทย 

      สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์; พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-02)
      จากสาธารณสุขมูลฐานสู่สุขภาพชุมชน: ข้อเสนอสำหรับผู้กำหนดนโยบายและทีมสุขภาพชุมชน การสาธารณสุขมูลฐานเป็นแนวคิดที่ได้รับการยอมรับกันอย่างกว้างขวาง หลังคำประกาศ Alma Ata ในปี ค.ศ.1978 โดยมีเป้าหมายคือ ประชาชนทุกคนมีสุขภาพดี ...
    • นโยบายพรรคการเมืองด้านสุขภาพ ในการเลือกตั้งทั่วไปเดือนกรกฎาคม 2554 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; ฐิติมา นวชินกุล; สายศิริ ด่านวัฒนะ; Pongpisut Jongudomsuk; Thitima Nawachinkul; Saisiri Danwattana (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-09)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์นโยบายด้านสุขภาพของพรรคการเมืองต่างๆ ที่ได้เสนอเพื่อหาเสียงในการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 3 กรกฎาคม 2554 โดยการทบทวนเอกสารทางการและข้อมูลที่เสนอผ่านสื่ออิเลคทรอนิกส์และสื่อมวลชนต่างๆ ...
    • บทคัดย่อผลงาน R2R ปี 2555 การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย ครั้งที่ 5 (Routine to research : R2R) : วิถี R2R เรียบง่าย คุณภาพ ครบวงจร วันที่ 10-12 กรกฎาคม 2555 ณ ศูนย์การประชุมอิมแพ็คฟอรั่ม เมืองทองธานี 

      สมพนธ์ ทัศนิยม; สมบูรณ์ เทียนทอง; ทัศนีย์ ญาณะ; สมหญิง อุ้มบุญ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-07)
      เอกสารฉบับนี้ได้รวบรวมผลงานวิจัย R2R ปี 2555 ที่ผ่านการพิจารณาตัดสินรอบแรก เพื่อเป็นฐานข้อมูลความรู้และสนับสนุนให้เกิดการขับเคลื่อนงานวิจัยอย่างต่อเนื่อง
    • บทสังเคราะห์ข้อเสนอบทบาทกระทรวงสาธารณสุขในศตวรรษที่ 21 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; จรวยพร ศรีศศลักษณ์; สายศิริ ด่านวัฒนะ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-09)
      ยุทธศาสตร์การวิจัยระบบสุขภาพ ปี พ.ศ. 2554-2558 ได้ตั้งเป้าหมายไว้ว่า จะจัดการความรู้มุ่งสู่ระบบสุขภาพที่เป็นธรรมและยั่งยืน และหนึ่งในแผนงานวิจัยที่สำคัญเพื่อบรรลุเป้าหมายดังกล่าวคือ การพัฒนาความเข้มแข็งกลไกการอภิบาลระบบสุขภาพ ...
    • ปฏิรูป สวรส. ก้าวสู่การวิจัยระบบสุขภาพในทศวรรษที่ 3 

      พินทุสร เหมพิสุทธิ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-12)
      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข พ.ศ. 2535 มีสถานะเป็นนิติบุคคล มีภารกิจในการสนับสนุนการศึกษาวิจัย เพื่อสร้างความรู้ สนับสนุนการพัฒนาระบบสุขภาพ การพัฒนานโยบายสุขภาพที่ส ...
    • ประสบการณ์ต่างแดน ระบบชดเชยความเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข 

      ลือชัย ศรีเงินยวง; นฤพงศ์ ภักดี; จิราพร ชมศรี; จเร วิชาไทย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-10)
      หลังเหตุการณ์ความไม่สงบทางการเมืองในช่วงเดือนพฤษภาคม 2553 ประเด็นที่สังคมให้ความสนใจอีกประเด็นหนึ่งคือ การเคลื่อนไหวคัดค้านของแพทย์และกลุ่มวิชาชีพด้านการแพทย์และสาธารณสุขต่อร่างกฎหมาย “คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข” ...
    • ปลดเงื่อนตาย คลายปมคิด 

      ปรีดา แต้อารักษ์; จรวยพร ศรีศศลักษณ์; สายศิริ ด่านวัฒนะ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-12)
      รัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2540 และ 2550 รวมทั้งพระราชบัญญัติกำหนด แผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 กำหนดให้มีการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุขให้องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมีแผนดำเนินการถ่ายโอ ...
    • ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความสำเร็จในการดำเนินงานคณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขระดับอำเภอ(คปสอ.) 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Ponpisut Jongudomsuk; สิทธิกร สองคำชุม; กาญจน์สิรี เสรีรัตนาคร; มลุลี แสนใจ; สายพันธ์ พึ่งพระคุ้มครอง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      Factors Related to Success in Operation of the District Health Cooperation CommitteeThe objective of this study was to determine important factors related to operational success of the District Health Cooperation Committee. ...
    • มหาอุทกภัยปี 2554 : บทเรียนจากประสบการณ์ 

      ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-08)
      ปัญหาอุทกภัยปี พ.ศ. 2554 ได้สร้างความเสียหายแก่ประเทศและประชาชนจำนวนมาก แม้ว่าหน่วยงานต่างๆ จะได้พยายามอย่างเต็มที่ในการเยียวยาความเดือดร้อนดังกล่าว เมื่อปัญหาดังกล่าวทุเลาลงหน่วยงานหลายภาคส่วนจึงให้ความสนใจถอดบทเรียนเพื ...
    • ระบบวิจัยสุขภาพเพื่อการปฏิรูปสุขภาพที่ยั่งยืนในประเทศไทย 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การวิจัยสุขภาพมีส่วนช่วยสนับสนุนการพัฒนาระบบสุขภาพของประเทศไทยอย่างมากในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านไป อย่างไรก็ตาม บริบทต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงไปทั้งในระดับสากลและระดับประเทศ รวมทั้งความซับซ้อนของระบบสุขภาพที่เพิ่มขึ้น ทำให้ความต้ ...