Now showing items 2249-2268 of 5345

    • การอภิบาลระบบสุขภาพแห่งชาติของประเทศไทย หลังการประกาศใช้ พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 : กรอบแนวคิด พัฒนาการและข้อเสนอเพื่อการพัฒนา 

      วิรุฬ ลิ้มสวาท (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การเกิดขึ้นของพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 เป็นจุดเปลี่ยนสำคัญของประวัติศาสตร์ระบบสุขภาพไทย การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญคือการกำหนดนิยามใหม่ให้กับคำว่า “สุขภาพ” ที่ขยายอาณาบริเวณของ “ระบบสุขภาพ” ออกไปพ้นจากการแพทย์และ ...
    • การอภิบาลระบบแบบเครือข่าย 

      วีระศักดิ์ พุทธาศรี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-10-10)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย (ครั้งที่ 2) : ยั่งยืนด้วยคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความเป็นธรรม และการประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2560 วันที่ 10 ...
    • การออกแบบการจ้างงานและสิทธิประโยชน์รูปแบบใหม่ที่ตอบสนองต่อความต้องการในอนาคตเพื่อสร้างแรงจูงใจของกำลังคนสุขภาพภาครัฐ 

      เมษ์ ศรีพัฒนาสกุล; May Sripatanaskul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)
      งานวิจัยเรื่องการออกแบบการจ้างงานและสิทธิประโยชน์รูปแบบใหม่ที่ตอบสนองต่อความต้องการในอนาคต เพื่อสร้างแรงจูงใจของกำลังคนสุขภาพภาครัฐ เป็นงานวิจัยที่มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทางเลือกรูปแบบการจ้างงานและสิทธิประโยชน์ใหม่ๆ ...
    • การออกแบบที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมที่เอื้อกับคนพิการและผู้สูงอายุ 

      เมธี พิริยกานนท์; ศิรินาถ ตงศิริ (สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ, 2555-08)
      คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมือง และนฤมิตศิลป์ และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ดำเนินการศึกษาวิจัยโครงการสนับสนุนการออกแบบที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมที่เอื้อกับคนพิการและผู้สูงอายุ โดยมีพื้นที่ต้นแบบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ...
    • การออกแบบระบบบริการด้านยาและเวชภัณฑ์สำหรับผู้ป่วยมารับยาที่ร้านยาแผนปัจจุบันประเภท 1 ในพื้นที่อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 

      สิริรัตน์ สุวัชรชัยติวงศ์; Sirirat Suwatcharachaitiwong; นิกร ศิริวงศ์ไพศาล; Nikorn Sirivongpaisal; ปราณภา หังสพฤกษ์; Prannapa Hungsaphruek (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-11)
      โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบระบบบริการด้านยาสำหรับโครงการผู้ป่วยรับยาที่ร้านยาใกล้บ้านตามรูปแบบที่ 3 ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในโครงการช่วยลดความแออัดในโรงพยาบาล โดยมุ่งเน้ ...
    • การออกแบบระบบบริการสุขภาพในหน่วยบริการปฐมภูมิภายใต้สถานการณ์ Covid-19 : กรณีศึกษาพื้นที่อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี 

      มูหาหมัดอาลี กระโด; Muhamadalee Krado; รอซาลี สีเดะ; Rozalee Saredea; วรรณี ปาทาน; Wannee Patan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-10)
      โครงการวิจัยการออกแบบระบบบริการสุขภาพในหน่วยบริการปฐมภูมิภายใต้สถานการณ์ Covid-19 : กรณีศึกษาพื้นที่อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี มีความมุ่งหวังให้บุคลากรเห็นความสำคัญของระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิและสามารถปรับวิธีการทำงาน ...
    • การออกแบบระบบบริการเภสัชกรรมทางไกลในยุคปกติวิถีใหม่ของโรงพยาบาลและร้านยาในเขตสุขภาพที่ 7 

      สุณี เลิศสินอุดม; Sunee Lertsinudom; สินีนาฏ มุ่งมานิตย์มงคล; Sineenard Mungmanitmongkol; ศิวพร ประเสริฐสุข; Siwapond Prasertsuk; กาญจนาภรณ์ ตาราไต; Kanjanaporn Taratai; ศิริน เพ็ญภินันท์; Sirin Phenphinan; สุภิญญา ตันตาปกุล; Supinya Tuntapakul; เพียงขวัญ ศรีมงคล; Piengkwan Srimongkol; เผ่าพงศ์ เหลืองรัตนา; Paopong Loungrattana; วัชระ ตันศิริ; Watchara Tansiri; ทรัพย์พานิช พลาบัญช์; Suppanich Palabun; เพ็ญทิพา แก้วเกตุทอง; Pentipa Kaewketthong; นิสรา ศรีสุระ; Nissara Srisura; วีรวรรณ รุจิจนากุล; Weerawan Rujijanakul; แฉล้ม รัตนพันธุ์; Chalaem Rattanapan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01)
      การบริการเภสัชกรรมทางไกล (telepharmacy) เป็นอีกหนึ่งระบบบริการที่ช่วยเสริมประสิทธิภาพของระบบบริการสุขภาพภายใต้สถานการณ์ที่มีโรคระบาดโควิด-19 อีกทั้งยังสามารถสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลด้านสาธารณสุขและเกิดเป็นรูปแบบการบริการท ...
    • การออกแบบระบบและกลไกในการขับเคลื่อนเขตสุขภาพที่ 6 

      รพีสุภา หวังเจริญรุ่ง; Rapeesupa Wangcharoenrung; ดาวุด ยูนุช; Dawud U-nuch; ผาณิต ชัยรุ่งโรจน์ปัญญา; Phanit Chairungrojpanya; ต้องการ จิตเลิศขจร; Tongkarn Jitlerdkajorn; สุทธิ สืบศิริวิริยะกุล; Sutthi Suebsiriviriyakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)
      ในช่วงที่ผ่านมาของการขับเคลื่อนให้เกิดเขตสุขภาพนั้น กระทรวงสาธารณสุขได้ดำเนินการสนับสนุนการพัฒนาเขตสุขภาพอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม การดำเนินการที่ผ่านมามีความไม่คล่องตัวในทางปฏิบัติหลายประการที่ทำให้การดำเนินการตามข้อเ ...
    • การออกแบบสภาพแวดล้อมสถานพยาบาลให้เอื้อต่อการเยียวยา 

      สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ; Society and Health Institute (สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ (สวสส.), 2557-10)
      งานวิจัยโครงการการออกแบบสภาพแวดล้อมสถานพยาบาลให้เอื้อต่อการเยียวยา (Healthcare Healing Environment Design) มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ทำการสำรวจสภาพปัญหาของการจัดสิ่งแวดล้อมในสถานพยาบาล (2) ออกแบบเครื่องมือประเมินสิ่งแวดล้ ...
    • การออกแบบสภาพแวดล้อมสถานพยาบาลให้เอื้อต่อการเยียวยา ปีที่ 2 

      โกศล จึงเสถียรทรัพย์; พุทธชาติ แผนสมบุญ; ธนวรรณ สาระรัมย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      โครงการวิจัย “การออกแบบสภาพแวดล้อมสถานพยาบาลให้เอื้อต่อการเยียวยา (Healthcare Healing Environment Design) ปีที่ 2” ได้เน้นให้โรงพยาบาลที่เข้าโครงการฯ จำนวน 17 แห่ง นำเครื่องมือประเมินคุณภาพสิ่งแวดล้อมเพื่อการเยียวยาไปใช ...
    • การออกแบบสภาพแวดล้อมสถานพยาบาลให้เอื้อต่อการเยียวยา ปีที่ 3 

      โกศล จึงเสถียรทรัพย์; Kosol Chungsatiansup; พุทธชาติ แผนสมบุญ; Phutthachat Phaensomboon; ธนวรรณ สาระรัมย์; Thanawan Sararum; นิรัชรา ลิลละฮ์กุล; Niratchara Lillahkul; หทัยกร กิตติมานนท์; Hataikorn Kittimanont (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-12)
      โครงการวิจัยเรื่องการออกแบบสภาพแวดล้อมสถานพยาบาลให้เอื้อต่อการเยียวยา มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อสำรวจสภาพของสิ่งแวดล้อมและศึกษารูปแบบการออกแบบโครงสร้าง/ภูมิสถาปัตยกรรมที่ส่งเสริมคุณภาพและความปลอดภัยของผู้รับบริการ ...
    • การออกแบบและพัฒนาข้อเข่าเทียมเชิงพาณิชย์เพื่อคนไทย 

      สุขเกษม วัชรมัยสกุล; Sukasem Watcharamiasakul; สุภกิจ รูปขันธ์; Supakit Rooppakhun; รัตน บริสุทธิกุล; Rattana Borrisutthekul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-04)
      เป้าหมายการศึกษาในครั้งนี้ คือ การได้ต้นแบบข้อเข่าเทียมบนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดและรูปทรงที่เหมาะสมกับกายวิภาคข้อเข่าของคนไทย โดยมีโครงการวิจัยย่อย 2 โครงการ ดังนี้ 1) การออกแบบข้อเข่าเทียมจากข้อมูลกายวิภาคของคนไทยด ...
    • การอุดหนุนข้ามระหว่างกองทุนสุขภาพในระดับโรงพยาบาล: กรณีศึกษาโรงพยาบาลรัฐในประเทศไทย 

      บวรศม ลีระพันธ์; Borwornsom Leerapan; ภัททา เกิดเรือง; Phatta Kirdruang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-06)
      วัตถุประสงค์: เพื่อค้นหาหลักฐานเชิงประจักษ์ในการตอบสนองของผู้บริหารโรงพยาบาลรัฐของประเทศไทยต่อความแตกต่างของนโยบายการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลของแต่ละกองทุนสุขภาพ และเพื่อทำความเข้าใจปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับแนวคิดการอุดหนุนข้ ...
    • การอุดหนุนและเฉลี่ยความเสี่ยงระหว่างสถานบริการในการเข้าสู่หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ระยะนำร่อง 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2546)
      เนื่องจากต้นทุนการจัดบริการของสถานพยาบาลต่างๆ มีความแตกต่างกันมาก การเข้าสู่การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าให้กับประชาชนไทย ด้วยวิธีงบประมาณแบบใหม่จะมีความสำคัญในการส่งเสริมให้การเปลี่ยนแปลงนี้เป็นไปอย่างราบรื่น ...
    • การอุปถัมภ์รายการศิลปวัฒนธรรมโดยบรรษัทบุหรี่ข้ามชาติ 

      หทัย ชิตานนท์; บัวรัตน์ ศรีนิล; ศิริชัย ศิริกายะ; อำนาจ เย็นสบาย (2540)
      การอุปถัมภ์รายการศิลปวัฒนธรรมของชาติ โดยบรรษัทข้ามชาติในประเทศไทย ภายใต้หน้าฉากของการสร้างภาพลักษณ์ของการแสดงการตอบแทนคืนกำไรให้สังคม แต่หลังฉากเป็นการใช้กลยุทธ์แอบแฝงด้านการตลาดอันแยบยลหรือไม่นั้น ได้รับการติดตามและยับย ...
    • การอ่านสภาพจิตของผู้ต้องขังจากภาพวาด 

      เลิศศิริร์ บวรกิตติ; นพวรรณ บัวทอง; ศิเรมอร บุญงาม; Lertsiri Bovornkitti; Nopphawan Buathong; Siremaon Bunngam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพจิตของผู้ต้องขังในเรือนจำจากภาพวาดอิสระ กลุ่มตัวอย่างประชากรที่ศึกษาได้แก่ ผู้ต้องโทษคุมขัง 30 ราย เป็นชาย 20 ราย และหญิง 10 ราย อายุ 24-57 ปี ซึ่งมีภูมิลำเนากระจายอยู่ทั่วประเทศ ...
    • การเกาะติดการรักษาและผลทางเวชกรรมในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรักษาที่โรงพยาบาลนางรอง 

      สุรภี ปิ่นอำพล; Surapee Pinumphol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      ภูมิหลังและเหตุผล ในการใช้ยารักษาผู้ป่วยโรคเรื้อรัง การเกาะติดการรักษา หรือการเกาะติดยาของผู้ป่วย เป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลการรักษา ผู้ป่วยที่มีเกาะติดการรักษาต่ำ คือใช้ยาไม่สม่ำเสมอ ไม่ครบตามแพทย์สั่ง จะก่อผลร้ายต่อผู้ป่วย ...
    • การเกิดซ้ำของหินน้ำลายและเหงือกอักเสบในนักเรียนประถมศึกษาที่รับการขูดหินน้ำลายโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับตำบล อำเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา 

      จอนสัน พิมพิสาร; Johnson Pimpisarn; ปราณี ปัญญายงค์; มนัสศรา อัจฉริยเมธากุล; ดวงใจ แย้มกระโทก; รณชัย อัจฉริยเมธากุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      การเกิดขึ้นซ้ำของหินน้ำลายและเหงือกอักเสบในเด็กนักเรียนประถมศึกษา การศึกษาวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบการเกิดขึ้นซ้ำของหินน้ำลายและเหงือกอักเสบของเด็กนักเรียนประถมศึกษา อายุ 10-12 ปี ในกลุ่มโรงเรียนที่มีการแป ...
    • การเกิดซ้ำของโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีนในประเทศไทย: กรณีศึกษาของโรคคอตีบ โรคหัด โรคหัดเยอรมัน และโรคไวรัสตับอักเสบชนิดเอ 

      อรุณรักษ์ คูเปอร์ มีใย; โสภณ เอี่ยมศิริถาวร; จักรรัฐ พิทยาวงศ์อานนท์; ปณิธี ธัมมวิจยะ; สมคิด คงอยู่; วิริชดา ปานงาม; ปิยะ หาญวรวงศ์ชัย; วิราวรรณ ชินวิริยสิทธิ์; เศรษฐภัทร ชินวิริยสิทธิ์; ธีระพล สลีวงศ์; วรรณพงษ์ เตรียมโพธิ์; ชรินทร์ โหมดชัง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-03-02)
      การฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันโรคในประเทศไทย เริ่มในปี พ.ศ.2520 ผ่านโครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (Expanded Program on Immunization, EPI) เพื่อลดอุบัติการณ์และอัตราการเสียชีวิตจากโรคทั่วไปที่ สามารถป้องกันได้ ในช่วงแรกความค ...
    • การเขียนการดำเนินการกับข้อมูล และการวิเคราะห์ทางสถิติในโครงร่างวิจัย 

      อรุณ จิรวัฒน์กุล; Aroon Chirawatkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-10-02)
      เอกสารนำเสนอประกอบการฝึกอบรม โครงการจัดฝึกอบรมเรื่อง “การเขียนโครงร่างการวิจัยทางคลินิก ” วันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2557 ณ ห้องแมจิก 1 ชั้น G โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร