Now showing items 1-4 of 4

    • การศึกษาเภสัชพันธุศาสตร์และเภสัชจลนศาสตร์ของกรดมัยโคฟีโนลิคและแมทาบอไลท์ 

      ณัฐ คูณรังษีสมบูรณ์; Nut Koonrungsesomboon; ดำเนินสันต์ พฤกษากร; Dumnoensun Pruksakorn; มิ่งขวัญ ณ ตะกั่วทุ่ง; Mingkwan Na Takuathung; ศิริพงษ์ ตองใจ; Siripong Tongjai; ภรัณยา ชัยวัฒน์; Parunya Chaiyawat; สาลินี จันทราภิรมย์; Salinee Jantrapirom; ปารเมศ เทียนนิมิตร; Parameth Thiennimitr; ศุภนิมิต ทีฆชุณหเถียร; Supanimit Teekachunhatean (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)
      กรดมัยโคฟีโนลิค (MPA) เป็นยากดภูมิคุ้มกันที่ใช้ในการป้องกันการต่อต้านการปลูกถ่ายอวัยวะและอยู่ระหว่างการศึกษาประสิทธิผลของยาต่อการต้านมะเร็งกระดูกออสทิโอซาร์โคมา อย่างไรก็ตาม พบว่า ผู้ที่ได้รับยาชนิดนี้แต่ละคนมีค่าเภสัชจล ...
    • การศึกษาเภสัชพันธุศาสตร์และเภสัชจลนศาสตร์ของกรดมัยโคฟีโนลิคและแมทาบอไลท์ (ระยะที่ 2) 

      ณัฐ คูณรังษีสมบูรณ์; Nut Koonrungsesomboon; ดำเนินสันต์ พฤกษากร; Dumnoensun Pruksakorn; ศิริพงษ์ ตองใจ; Siripong Tongjai; ณหทัย ดูแก้ว; Nahathai Dukaew; ภรัณยา ชัยวัฒน์; Parunya Chaiyawat; มิ่งขวัญ ณ ตะกั่วทุ่ง; Mingkwan Na Takuathung (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      กรดมัยโคฟีโนลิค (Mycophenolic acid, MPA) เป็นยากดภูมิคุ้มกันที่ใช้ในการป้องกันการต่อต้านการปลูกถ่ายอวัยวะและอยู่ระหว่างการศึกษาประสิทธิผลของยาต่อการต้านมะเร็งกระดูกออสทิโอซาร์โคมา อย่างไรก็ตาม พบว่า ผู้ที่ได้รับยาชนิดนี้ ...
    • ความเป็นไปได้ของการตรวจคัดกรองโรคพันธุกรรมเมตาบอลิกในทารกแรกเกิดโดยใช้เทคโนโลยีแทนเดมแมสสเปกโทรเมทรี 

      รุ่งนภา คำผาง 1,2; Roongnapa Khampang 1,2; ภคนันท์ อังกาบ 1,2; Pakkanan Angkab 1,2; พัทธรา ลีฬหวรงค์ 1,2; Pattara Leelahavarong 1,2; วิไลลักษณ์ แสงศรี 2,3; Wilailak Saengsri 2,3; นิธิวัชร์ วัฒนวิจารณ์ 4; Nithiwat Vatanavicharn 4 (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-06)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของการตรวจคัดกรองโรคพันธุกรรมเมตาบอลิกชนิดสารโมเลกุลเล็กในทารกแรกเกิดทุกคนโดยใช้เทคโนโลยีแทนเดมแมสสเปกโทรเมทรี (tandem mass spectrometry หรือ MS/MS) ในชุดสิทธิประโยชน์ภายใ ...
    • ทุกนโยบายห่วงใยสุขภาพ เพื่อป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2565 (ปีที่ 1) 

      กฤษฎา หาญบรรเจิด; Krisada Hanbunjerd; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; Siriwan Pitayarangsarit; กมลทิพย์ วิจิตรสุนทรกุล; Kamolthip Vijitsoonthonkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-04)
      สาเหตุการเสียชีวิตส่วนใหญ่ในประเทศไทย มากกว่าร้อยละ 75 มีสาเหตุจากโรคไม่ติดต่อ เช่น โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคไต ซึ่งสามารถป้องกันการเกิดโรคได้ โดยการจัดการควบคุมปัจจัยเสี่ยงทางด้านพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ...