Now showing items 21-40 of 43

    • การสังเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการเข้าถึงยากลุ่มโอปิออยด์ สำหรับการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง ในประเทศไทย 

      จอมขวัญ โยธาสมุทร; Jomkwan Yothasamut; กานต์พีชญา เนตรพิสิทธิ์กุล; Kanpechaya Netpisitkul; ศรวณีย์ อวนศรี; Sonvanee Uansri; จุฑามาศ พราวแจ้ง; Juthamas Prawjaeng; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12-18)
      ปัจจุบันในประเทศไทยมีผู้ป่วยระยะท้ายที่ต้องการการดูแลแบบประคับประคองเพิ่มมากขึ้น ยาแก้ปวดกลุ่มโอปิออยด์จัดเป็นยาที่จำเป็นในการบรรเทาอาการปวดชนิดรุนแรง ซึ่งช่วยลดความทรมานและทำให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอย่างชัดเจน ...
    • การหาปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเลือกวัคซีนใหม่ในประเทศไทยโดยวิธี best-worst scaling 

      ศิริพร ภูริภัสสรกุล; Siriporn Pooripussarakul; อาทร ริ้วไพบูลย์; Arthorn Riewpaiboon; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; จรุง เมืองชนะ; Charung Muangchana; Bishai, David (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)
      การนำวัคซีนใหม่เข้ามาใช้ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย ได้แก่ นโยบาย แนวทางปฏิบัติ และการประเมินทางเศรษฐศาสตร์ ผู้ที่เกี่ยวข้องต่างๆ จึงพิจารณาปัจจัยสำคัญที่แตกต่างกันไปในการนำวัคซีนใหม่เข้าสู่โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันแห่งชาติ ...
    • การเพิ่มการเข้าถึงยาราคาแพงในบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ.2551 : จากนโยบายสู่การปฏิบัติ 

      เสาวลักษณ์ ตุรงคราวี; วรัญญา รัตนวิภาพงษ์; รุ่งนภา คำผาง; พัทธรา ลีฬหวรงค์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Saowalak Turongkaravee; Waranya Rattanavipapong; Roongnapa Khampang; Pattara Leelahavarong; Yot Teerawattananon; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)
      วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษากระบวนการนำนโยบายเพิ่มการเข้าถึงยาราคาแพงในบัญชียา จ (2) ของบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ.2551 ไปสู่การปฏิบัติโดยโครงการประกันสุขภาพภาครัฐ ได้แก่ โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โครงการสวัสดิการรักษาพย ...
    • การใช้บริการและมูลค่าอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการที่เบิกจ่ายในระบบประกันสุขภาพภาครัฐของไทย 

      ธีระ ศิริสมุด; Teera Sirisamutr; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasan; สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล; Suradech Doungthipsirikul; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-10)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์การใช้หรือการได้รับบริการอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการจากระบบประกันสุขภาพภาครัฐของประเทศไทย และมูลค่าของอุปกรณ์ฯ เหล่านั้นในปี พ.ศ. 2552-2555 โดยวิเคราะห์ข้อมูลทุติยุภูมิ (Secondary data) ...
    • ข้อเสนอการปฏิรูประบบจัดการงานวิจัยด้านสุขภาพในประเทศไทย 

      ธนพร บุษบาวไล; Thanaporn Bussabawalai; อินทิรา ยมาภัย; Inthira Yamabhai; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; สุธาสินี คำหลวง; Suthasinee Kumluang; ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; Pitsaphun Werayingyong; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-03)
      งานวิจัยที่มีคุณภาพและสามารถนำไปใช้ประโยชน์เพื่อพัฒนาประเทศได้นั้น ต้องอาศัยการดำเนินงานอย่างเป็นระบบของหลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งหน่วยงานที่มีหน้าที่ให้ทุนสนับสนุนการวิจัย การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ...
    • ความคิดเห็นของบุคลากรสาธารณสุขต่อยาจากสมุนไพรและนโยบายการส่งเสริมการใช้ยาจากสมุนไพรในสถานบริการสาธารณสุข 

      คัคนางค์ โตสงวน; ณัฏฐิญา ค้าผล; มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; เนติ สุขสมบูรณ์; วันทนีย์ กุลเพ็ง; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Kakanang Tosanguan; Nattiya Kapol; Montarat Thavorncharoensap; Neti Suksomboon; Wantanee Kulpeng; Sripen Tantivess; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-12)
      ประเทศไทยมีนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการสนับสนุนการใช้ยาจากสมุนไพรมาเป็นระยะเวลานานแต่มูลค่าและปริมาณการใช้ยาจากสมุนไพรในสถานพยาบาลก็ยังไม่บรรลุเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้ ในการจะทำให้นโยบายประสบความสำเร็จนั้นมีความจำเป็นอย่างยิ่ ...
    • ความพึงพอใจของคนพิการต่อบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์และบริการอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการที่โรงพยาบาลของรัฐใน 8 จังหวัด 

      ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; แก้วกุล ตันติพิสิฐกุล; Kaewkul Tantipisitkul; ธีระ ศิริสมุด; Teera Sirisamutr; สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล; Suradech Doungthipsirikul; วันทนีย์ กุลเพ็ง; Wantanee Kulpeng; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; สุรชัย โกติรัมย์; Surachai Kotirum; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-10)
      ความพึงพอใจของผู้ป่วยต่อบริการสุขภาพเป็นผลมาจากประสบการณ์ตรง ในการได้รับบริการเปรียบเทียบกับความคาดหวังต่อการรับบริการ ซึ่งจะมีผลต่อการให้ความร่วมมือในการรับบริการนั้นๆ ผลจากการประเมินความพึงพอใจจะสามารถนำไปใช้ในการพัฒนา ...
    • ทบทวนสภาพปัญหาและการวิจัยเกี่ยวกับระบบยาของประเทศไทย : เอกสารประกอบการประชุมระดมสมองจัดทำแผนงานศึกษาวิจัยและพัฒนาระบบยา 

      ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sriphan Tantiwet; กระทรวงสาธารณสุข. สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์; Misnistry of Public Health. Bureau of Health Policy and Strategy (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      ระบบยามีองค์ประกอบย่อยอันได้แก่ องค์กร บุคคล กระบวนการ และการดําเนินกิจกรรมที่มีความหลากหลายและซับซ้อน นอกจากนี้ระบบยายังมีความสัมพันธ์กับปัจจัยทั้งภายในและภายนอกระบบสุขภาพในหลายลักษณะ ดังนั้น การพัฒนาระบบยาจึงจําเป็นต้อ ...
    • บทบาทของการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพในกระบวนการนโยบายสาธารณะ 

      ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การพัฒนานโยบายและการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติในภาครัฐเป็นกระบวนการที่ซับซ้อนและเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาในขณะที่ตัวแสดงจำนวนมากซึ่งมีผลประโยชน์ที่แตกต่างกันเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้อง ตัวแสดงเหล่านี้ทั้งที่เป็นปัจเจกบุคคลและองค์ก ...
    • บริการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการในมุมมองของผู้แทนองค์กรด้านคนพิการ ผู้ให้บริการและผู้กำหนดนโยบาย 

      แก้วกุล ตันติพิสิฐกุล; Kaewkul Tantipisitkul; ธีระ ศิริสมุด; Teera Sirisamutr; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล; Suradech Doungthipsirikul; วันทนีย์ กุลเพ็ง; Wantanee Kulpeng; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; สุรชัย โกติรัมย์; Surachai Kotirum; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-10)
      การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษามุมมองของผู้แทนองค์กรด้านคนพิการ ผู้ให้บริการและผู้กำหนดนโยบายต่อบริการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการในประเทศไทย เก็บข้อมูลตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงเดือนมิถุนายน 2557 ...
    • ประสบการณ์ของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงที่ได้รับการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือดในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยสองแห่งในกรุงเทพมหานคร 

      สุรชัย โกติรัมย์; พัทธรา ลีฬหวรงค์; กลีบสไบ สรรพกิจ; สุรเดช หงส์อิง; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Surachai Kotirum; Pattara Leelahavarong; Kleebsabai Sanpakit; Suradej Hongeng; Yot Teerawattananon; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      การศึกษาเชิงคุณภาพนี้ใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกเพื่อศึกษาประสบการณ์ของผู้ดูแลหลักของผู้ป่วยโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงที่ได้รับการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือดที่ประสบความสำเร็จในศูนย์ให้บริการปลูกถ่ายฯ 2 แห่ง ...
    • ปัญหาสุขภาวะเด็ก กฎหมาย/นโยบายที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคและการจัดลำดับความสำคัญปัญหาสุขภาวะเด็ก 0 - 5 ปี ในประเทศไทย 

      จอมขวัญ โยธาสมุทร; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; นัยนา ประดิษฐ์สิทธิกร; สุทธิษา สมนา; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; ลัดดา เหมาะสุวรรณ; นิพรรณพร วรมงคล; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; สุชัญญา อังกุลานนท์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Jomkwan Yothasamut; Pitsaphun Weerayingyong; Naiyana Praditsitthikorn; Sutthisa Sommana; Sripen Tantivess; Ladda Mo-suwan; Nipunporn Voramongkol; Kanittha Boonthamcharoen; Suchunya Aungkulanon; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-12)
      ระบบสุขภาพของประเทศไทยให้ความสำคัญกับการดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคมาเป็นระยะเวลานาน แต่ยังเป็นการดำเนินการแบบแยกส่วน ส่งผลให้ขาดความร่วมมือ ทิศทาง และเป้าหมายของการดำเนินงานที่ชัดเจน หากดำเนินการแบบองค ...
    • ผลลัพธ์และปัจจัยที่มีผลต่อการเข้าถึงอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการในคนพิการทางการเคลื่อนไหว 

      วันทนีย์ กุลเพ็ง; Wantanee Kulpeng; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; สาริณี แก้วสว่าง; Sarinee Keawsawang; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-10)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลลัพธ์ในรูปของคุณภาพชีวิตและความสามารถในการดำรงชีวิตจากการเข้าถึงอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ และศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเข้าถึงอุปกรณ์ฯ โดยทำการศึกษาเชิงการสังเกตในระหว่างมีนาคมถึงพฤษภาคม ...
    • มองไกล วิจัยสุขภาพ 

      อินทิรา ยมาภัย; ศิตาพร ยังคง; สุธาสินี คำหลวง; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; ชุติมา คำดี; ทรงยศ พิลาสันต์; คณาภรณ์ ธนูธรรมเจริญ; ธนพร บุษบาวไล; สรัญญา ใจกล้า; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; ยศ ตีระวัฒนานนท์ (โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ, 2557-09)
      ระบบสุขภาพเป็นกลไกในการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจ รวมถึงแก้ไขปัญหาความยากจนและลดความเหลื่อมลํ้าในสังคม ความรู้ที่ได้จากการวิจัยสามารถเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับระบบสุขภาพได้ อย่างไรก็ตาม งานวิจัยด้านสุขภาพของประเทศไทยมักจะดำ ...
    • ระบบสุขภาพที่พึงประสงค์ของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2576 

      อินทิรา ยมาภัย; Inthira Yamabhai; สุธาสินี คำหลวง; Suthasinee Kumluang; ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; Pitsaphun Werayingyong; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)
      ระบบสุขภาพของประเทศไทยในปัจจุบันได้รับผลกระทบจากปัจจัยแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างต่อเนื่อง จึงมีความจำเป็นในการคาดการณ์อนาคตของประเทศเพื่อให้ทราบสถานการณ์สำคัญที่ต้องเผชิญในอนาคตและรับมือหรือใช้ประโยชน์จากปัจจัยเหล่านั้น ...
    • สถานการณ์การจัดบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์สำหรับคนพิการในโรงพยาบาลของรัฐ 

      สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล; Suradech Doungthipsirikul; ธีระ ศิริสมุด; Teera Sirisamutr; สุรชัย โกติรัมย์; Surachai Kotirum; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; แก้วกุล ตันติพิสิฐกุล; Kaewkul Tantipisitkul; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-10)
      การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ เป็นการสร้างเสริมสมรรถภาพหรือความสามารถของคนพิการให้ดีขึ้น หรือดำรงสมรรถภาพหรือความสามารถเดิมที่มีอยู่ไว้ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจสถานการณ์การจัดบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์สำห ...
    • สิทธิประโยชน์ด้านอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการของระบบประกันสุขภาพภาครัฐในประเทศไทย 

      ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; สุรชัย โกติรัมย์; Surachai Kotirum; ธีระ ศิริสมุด; Teera Sirisamutr; สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล; Suradech Doungthipsirikul; แก้วกุล ตันติพิสิฐกุล; Kaewkul Tantipisitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-10)
      บริการอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการเป็นบริการที่จำเป็นอย่างยิ่งสำหรับคนพิการ ซึ่งเป็นประชากรกลุ่มหนึ่งที่มีแนวโน้มที่จะเพิ่มจำนวนมากขึ้น สิทธิประโยชน์และบริการดังกล่าวของคนพิการในประเทศไทยมีความไม่เท่าเทียมกันระหว่างระบบประก ...
    • เติมเต็มช่องว่างทางความรู้ เพื่อนำไปสู่ระบบสุขภาพที่พึงประสงค์ : ทางเลือกงานวิจัยด้านสุขภาพในอนาคต 

      ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; อินทิรา ยมาภัย; Inthira Yamabhai; สุธาสินี คำหลวง; Suthasinee Kumluang; ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; ธนพร บุษบาวไล; Thanaporn Bussabawalai; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; Pitsaphun Werayingyong; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)
      โครงการจัดลำดับความสำคัญหัวข้อวิจัยด้านสุขภาพสำหรับประเทศไทยมีวัตถุประสงค์หลักที่จะพัฒนาแนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการวิจัยด้านสุขภาพเพื่อให้สามารถบรรลุเป้าประสงค์ที่กำหนดไว้ สิ่งสำคัญประการหนึ่งที่จะช่วยให้ระบบสุขภาพไทย ...
    • แนวทางการคัดกรองภาวะโลหิตจางระดับประชากรในประเทศไทย 

      ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร; Tanunya Koopitakkajorn; พัฒน์ศรี ศรีสุวรรณ; Patsri Srisuwan; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ณภัชชา วงศ์ฉายา; Napatcha Wongchaya; สุพัชรินทร์ สุวรรณเกิด; Supatcharin Suwannakerd; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-09)
      ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กส่งผลกระทบต่อจิตใจ การเคลื่อนไหว และพฤติกรรม โดยเฉพาะในเด็กทารกแรกเกิดจนถึงอายุ ๒ ปี การรักษาด้วยการให้ธาตุเหล็กในภายหลังช่วยให้ระดับธาตุเหล็กเพิ่มขึ้น แต่ความล่าช้าของพัฒนาการยังคงอยู่ ...
    • แนวทางการคัดกรองโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิด Atrial Fibrillation ระดับประชากรในประเทศไทย 

      พัฒน์ศรี ศรีสุวรรณ; Patsri Srisuwan; ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร; Tanunya Koopitakkajorn; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-09)
      โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิด Atrial Fibrillation (AF) เป็นภาวะที่พบบ่อยที่สุดในภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะทั้งหมด และก่อให้เกิดผลแทรกซ้อนร้ายแรง ปัจจุบันยังไม่มีแนวทางการคัดกรองระดับประชากรในประเทศไทย และไม่มีการวิเคราะห์ถึงประโยชน์ ...