Browsing สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI) by Subject "ประกันสุขภาพ"
Now showing items 21-40 of 59
-
การวิเคราะห์กิจกรรมการให้บริการ และสถานการณ์ทางการเงินของสถานพยาบาลภายใต้ โครงการหลักประกันสุขภาพ ช่วงเดือนตุลาคม 2544-มีนาคม 2545
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)จากการปฏิรูประบบการคลังภายใต้โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 30 บาท รักษาทุกโรค ครบทั้งประเทศ ในปีงบประมาณ 2545 ได้ส่งผลกระทบต่อสถานะการเงินและพฤติกรรมการให้บริการของสถานพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการฯ เพื่อให้ได้ภาพที่แสดงให้ ... -
การวิเคราะห์ผลกระทบและประเมินผลของโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (โครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค) ได้รับความสนใจอย่างมากจากทั้งภาครัฐและภาคประชาชนตั้งแต่ระยะแรกเริ่มจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากเป็นโครงการที่มีผลกระทบต่อผู้ใช้บริการและผู้ให้บริการรักษาพยาบาลอย่างกว้างขวาง ... -
การศึกษาประสิทธิผลของการบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิและพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในเขตปทุมวัน ภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบของบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิตามนโยบายประกันสุขภาพถ้วนหน้าของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ และเพื่อศึกษาภาวะสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ ความคาดหวังและความพึงพอใจต่อบริก ... -
การศึกษาผลของกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลต่อการเสริมพลังอำนาจองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและองค์กรชุมชนในการจัดการปัญหาสุขภาพชุมชน
(สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2554-09)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของกองทุนสุขภาพตำบลในการเสริมพลังอำนาจองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและองค์กรชุมชนในการจัดการปัญหาสุขภาพชุมชน รวมถึงกับปรับตัวในการทำงานของบุคลากรสาธารณสุข ทั้งนี้เนื่องจากบริบทและสภาพ ... -
การศึกษาภาพรวมและผลกระทบทางด้านจริยธรรมกับโครงการ 30 บาท รักษาทุกโรค
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาพรวมและผลกระทบทางด้านจริยธรรมของแพทย์เกี่ยวกับโครงการ 30 บาท รักษาทุกโรค เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาพิจารณาวิเคราะห์และสังเคราะห์ให้กับผู้ที่เกี่ยวข้องและรับผิดชอบได้ทราบอันจะนำไปใช้ให้เป็น ... -
การศึกษาภาพอนาคตและเส้นทางสู่หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่ยั่งยืนของประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-11)จากการทบทวนสถานการณ์ในระบบหลักประกันสุขภาพของไทยพบว่าประเทศไทยประสบความสําเร็จในการจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าให้แก่ประชาชนอย่างดีในระดับหนึ่ง หากพิจารณาผลสัมฤทธิ์เชิงนโยบายพบว่าในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา นโยบายการขยายหลักประ ... -
การศึกษาแนวทางการดำเนินงานของชุมชนในระบบหลักประกันสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ, 2552)โครงการศึกษาแนวทางการดำเนินงานของชุมชนในระบบหลักประกันสุขภาพ โดย มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ (มสช.) ภายใต้การสนับสนุนจากแผนงานร่วมสร้างเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ได้ทำการศึกษากองทุนสวัสดิการชุมชนทั้งหมด 10 ... -
การสนับสนุนและพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, 2552)การดำเนินงานโครงการสนับสนุนและพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่นี้ ได้ดำเนินการโดยมูลนิธิแสงสิทธิการ (เพื่อคุณภาพชีวิต) ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากแผนงานร่วมสร้างเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ... -
การสร้างภาพอนาคตระบบและเส้นทางสู่หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.), 2551-10)การสร้างภาพอนาคต (scenario) เป็นวิธีการมองอนาคต (foresight) อย่างหนึ่งที่มีรากฐานมาจากวิธีการเดียวกันของ future study แต่มีที่จุดเด่นของการมองอนาคตแบบ foresight กล่าวคือเน้นให้ความสําคัญกับการมีส่วนร่วมและพยายามประมวลควา ... -
การสังเคราะห์องค์ความรู้เพื่อการปฏิรูประบบบริการสุขภาพและการสร้างหลักประกันสุขภาพสำหรับผู้พิการ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)งานศึกษาชิ้นนี้เป็นการสังเคราะห์องค์ความรู้เพื่อการปฏิรูประบบบริการสุขภาพและการสร้างหลักประกันสุขภาพสำหรับคนพิการ และควรกำหนดไว้ในพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ แหล่งข้อมูลที่ใช้ในงานสังเคราะห์ชิ้นนี้มาจากเอกสารวิชาการเป็นหลัก ... -
การสํารวจความคิดเห็น ด้วย Real Time Delphi
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.), 2551-10)ในการสร้างหลักประกันสุขภาพของประเทศไทยเพื่อให้ประชาชนเข้าถึงการบริการสุขภาพ มีวิวัฒนาการมาโดยลําดับ ซึ่งพบว่ามีทั้งความสําเร็จ ความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรคที่กล่าวถึงในวงกว้างทั้งในแวดวงวิชาการและแวดวงประชาคม หลายประเด็นม ... -
การออกแบบระบบและการพัฒนาเครื่องมือสำหรับใช้คัดเลือกนวัตกรรมด้านสุขภาพในระยะเริ่มต้น ก่อนลงทุนวิจัยและพัฒนาเพื่อให้มีโอกาสบรรจุเข้าในชุดสิทธิประโยชน์ในระบบหลักประกันสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-11)โครงการออกแบบระบบและการพัฒนาเครื่องมือสำหรับใช้คัดเลือกนวัตกรรมด้านสุขภาพในระยะเริ่มต้นก่อนลงทุนวิจัยและพัฒนาเพื่อให้มีโอกาสบรรจุเข้าในชุดสิทธิประโยชน์ในระบบหลักประกันสุขภาพ ดำเนินการส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ่านการพัฒนา ... -
การเปรียบเทียบการบริหารจัดการและสิทธิประโยชน์ทางการแพทย์ระหว่างกองทุนประกันสุขภาพบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิกับกองทุนหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า พ.ศ. 2563
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-03)กองทุนประกันสุขภาพบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิตั้งขึ้นมาเมื่อปี พ.ศ. 2553 เพื่อให้สิทธิ (คืนสิทธิ) ขั้นพื้นฐานด้านสาธารณสุขแก่บุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ เนื่องจากผู้มีสิทธิในพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ... -
การใช้บริการและมูลค่าอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการที่เบิกจ่ายในระบบประกันสุขภาพภาครัฐของไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-10)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์การใช้หรือการได้รับบริการอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการจากระบบประกันสุขภาพภาครัฐของประเทศไทย และมูลค่าของอุปกรณ์ฯ เหล่านั้นในปี พ.ศ. 2552-2555 โดยวิเคราะห์ข้อมูลทุติยุภูมิ (Secondary data) ... -
ข้อเสนอหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : รายงานการศึกษาประกอบการปฏิรูประบบสุขภาพและการร่างพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ....
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)เอกสารงานวิจัยชิ้นนี้เป็นผลผลิตจากความเพียรพยายามและสติปัญญาของนักวิชาการ และนักกิจกรรมเคลื่อนไหวทางสุขภาพกลุ่มหนึ่ง ที่ได้ร่วมกันศึกษาวิเคราะห์ปัญหาการจัดบริการและการคลังสุขภาพของประเทศไทยที่ผ่านมา ทบทวนทางเลือกและกลวิธ ... -
ความคาดหวัง การใช้บริการด้านสุขภาพ และผลกระทบของการจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : มุมมองของประชาชน : รายงานวิจัยเล่มที่3
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบในระยะแรกของการจัดให้มีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (และโครงการ “30 บาทรักษาทุกโรค”) ที่มีต่อประชาชน จากมุมมองของประชาชนเอง โดยคำนึงถึงพฤติกรรมการเลือกวิธีรักษาพยาบาลและการเลือก ... -
ความพยายามและความสำเร็จของคณะกรรมการกำหนดระบบบริหารยา เวชภัณฑ์ การเบิกจ่ายค่าตรวจวินิจฉัยและค่าบริการทางการแพทย์
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-09)การบริหารจัดการระบบประกันสุขภาพของประเทศไทยเป็นปัญหาที่ท้าทายรัฐบาลทุกสมัย เนื่องจากประเทศไทยมีกองทุนประกันสุขภาพที่หลากหลาย เช่น กองทุนสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ กองทุนประกันสังคม กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ... -
งานวิจัยเพื่อการพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิ
(สำนักงานวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2553-10) -
จับกระแส : จดหมายข่าวสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 4 ฉบับที่ 2
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541-08)- สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขร่วมกับบริษัทแมเนจเมนท์ ไซน์ส ฟอร์ เฮลธ์ (Management Sciences for Health-MSH) กำหนดกรอบการศึกษา 4 ประเด็นหลัก วางแนวปฏิรูประบบสาธารณสุขเสนอกระทรวงสาธารณสุข – ศักยภาพใหม่เพื่อระบบสาธารณสุขไทย – ... -
จากนโยบายสู่การปฏิบัติ : หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย พ.ศ. 2544-2547
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)จากนโยบายสู่การปฏิบัติ : หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย พ.ศ. 2544-2547 ประกอบด้วย 7 บท ได้แก่ บทที่ 1. กระบวนการกําหนดนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า บทนี้จะวิเคราะห์กระบวนการกําหนดนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (Agenda ...