Now showing items 21-40 of 64

    • การทบทวนอย่างเร็ว (Rapid review) งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับระบบยาของประเทศไทย 

      ภิญญุภา เปลี่ยนบางช้าง; กุลธิดา ไชยจินดา; อภินันท์ สิริรัตนาธร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-09)
      จากการทบทวนงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการทั้งสิ้น 132 เรื่อง ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษพบว่า ความไม่เหมาะสมในการใช้ยาที่ยังคงเป็นปัญหาใหญ่ของระบบ และลักษณะของงานวิจัยที่มีขนาดเล็ก ต่างคนต่างทำด้วยแนวปฏิบัติที่ต่างกัน ...
    • การบริหารจัดการระบบยา : ทิศทางการเพิ่มประสิทธิภาพระบบหลักประกันสุขภาพ 

      วิศิษฎ์ วามวาณิชย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-10-11)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย (ครั้งที่ 2) : ยั่งยืนด้วยคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความเป็นธรรม และการประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2560 วันที่ 10 ...
    • การบริหารจัดการระบบยา : ทิศทางการเพิ่มประสิทธิภาพระบบหลักประกันสุขภาพ 

      ไตรเทพ ฟองทอง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-10-11)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย (ครั้งที่ 2) : ยั่งยืนด้วยคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความเป็นธรรม และการประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2560 วันที่ 10 ...
    • การประเมินการใช้ยาก่อนและหลังการเบิกจ่ายตรงของสวัสดิการข้าราชการในโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์ในจังหวัดพิษณุโลก 

      ณธร ชัยญาคุณาพฤกษ์; ปิยะรัตน์ นิ่มพิทักษ์พงศ์; ปิยะเมธ ดิลกธรสกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-08-31)
      การเปลี่ยนแปลงนโยบายการเบิกจ่ายของสิทธิสวัสดิการข้าราชการจากการสำรองจ่าย เป็นการเบิกจ่ายตรงมีแนวโน้มส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมการสั่งจ่ายยาของแพทย์ โดยทำให้แพทย์มีแนวโน้มการสั่งจ่ายยาในจำนวนที่เพิ่มขึ้นต่อการเข้ารับบริการของผ ...
    • การพัฒนาการทบทวนทะเบียนตำรับยา กรณีศึกษายาแอสไพริน 

      วรสุดา ยูงทอง; นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; วรรณนิษา เถียรทวี; นิพัทธ์ สุขแสนสำราญ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553)
      การพัฒนาการทบทวนทะเบียนตำรับยา: กรณีศึกษายาแอสไพริน มีวัตถุประสงค์เพื่อคุ้มครองความปลอดภัยของประชาชนให้ได้บริโภคยาแอสไพรินที่มีคุณภาพมาตรฐานอย่างมีประสิทธิผล ปลอดภัย และเป็นการทดลองรูปแบบการพัฒนางานทบทวนทะเบียนตำรับยาให้ ...
    • การพัฒนาระบบการกำกับดูแลยาชีววัตถุในประเทศไทย กรณีศึกษา epoetin 

      วิไล บัณฑิตานุกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555)
      ยาชีววัตถุมีความซับซ้อนทางโมเลกุลมาก จึงไม่สามารถใช้แนวทางการประเมินเดียวกับยาเคมีได้ แม้มีวิธีการวิเคราะห์มากมายในปัจจุบันก็อาจยังไม่เพียงพอที่จะทำนายถึงความปลอดภัยและประสิทธิภาพของยาชีววัตถุได้ มีรายงานการศึกษาหลายฉบับ ...
    • การพัฒนารูปแบบการทบทวนทะเบียนตำรับยาและการนำไปสู่การปฏิบัติ ภายใต้โครงการวิจัยเรื่อง การพัฒนาระบบทบทวนทะเบียนตำรับยา 

      วินิต อัศวกิจวิรี; วรสุดา ยูงทอง; อนันต์ชัย อัศวเมฆิน; อัญชลี จิตรักนที; สุจิรา นิพัทธพิมพ์ใจ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)
      ด้วยทะเบียนตำรับยามีอายุใช้ได้ตลอดเวลาส่งผลให้มียาจำนวนหนึ่งที่อาจมีสมดุลของประโยชน์กับความเสี่ยงแตกต่างจากเดิม สาเหตุหนึ่งเกิดจากการมีวิถีการขึ้นทะเบียนแตกต่างจากสากล เพื่อเป็นการคุ้มครองผู้บริโภคจึงจำเป็นต้องมีการทบทวน ...
    • การพัฒนาเพื่อการเข้าถึงสิทธิประโยชน์ยาจำเป็นในระบบหลักประกันสุขภาพ 

      คณิตศักดิ์ จันทราพิพัฒน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-10-11)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย (ครั้งที่ 2) : ยั่งยืนด้วยคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความเป็นธรรม และการประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2560 วันที่ 10 ...
    • การพัฒนาแพลตฟอร์มระบบการจัดทำบัญชีรายจ่ายด้านยาแห่งชาติ (ระยะที่ 1) 

      ศุภสิทธิ์ พรรณนารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; ปิยะเมธ ดิลกธรสกุล; Piyameth Dilokthornsakul; นิลวรรณ อยู่ภักดี; Nilawan Upakdee; นันทวรรณ กิติกรรณากรณ์; Nantawarn Kitikannakorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-02)
      รายจ่ายด้านยาเป็นสัดส่วนสำคัญในระบบบัญชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติของทุกประเทศ การติดตามรายจ่ายด้านยาอย่างต่อเนื่องเป็นเป้าหมายของการวิจัยนี้ การพัฒนาแพลตฟอร์มระบบการจัดทำบัญชีรายจ่ายด้านยาแห่งชาติ (ระยะที่ 1) ออกแบบสำหรับการดำเนิน ...
    • การวิจัยอนาคตระบบยาของประเทศไทย 

      สุพรชัย กองพัฒนากูล; Supornchai Kongpatanakul; ชะอรสิน สุขศรีวงศ์; นภดล ทองนพเนื้อ; รุ่งเพ็ชร สกุลบำรุงศิลป์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      การวิจัยอนาคตระบบยาของประเทศไทย วัตถุประสงค์การวิจัย: 1) เพื่อให้ได้ฉากทัศน์อนาคตของการใช้ยาในอีก 10 ปีข้างหน้าซึ่งคาดว่าจะมีโอกาสเกิดขึ้นจริง (most likely scenario) 2) ภาพอนาคตของการใช้ยาที่ปารถนาให้เกิด (most desirable ...
    • การวิจัยและพัฒนาระบบยาของไทยประมวลจากฐานข้อมูล กพย. 

      นิยดา เกียรติยิ่งอังศุลี; Niyada Kiatying-Angsulee (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552-08-26)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการ ข้อเสนอกรอบวิจัยเพื่อพัฒนาระบบยา “การเข้าถึงยาถ้วนหน้าของประชากรไทย” วันที่ 26-27 สิงหาคม 2552 ณ ห้องประชุมกมลทิพย์ ชั้น 2 โรงแรมสยามซิตี้ กรุงเทพมหานคร
    • การวิเคราะห์การเข้าถึงยาบัญชียาหลักแห่งชาติ บัญชียา จ(2) 

      ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; วิทธวัช พันธุมงคล; Witthawat Pantumongkol; นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittirachakool; พรธิดา หัดโนนตุ่น; Phorntida Hadnorntun; จิรวิชญ์ ยาดี; Jirawit Yadee; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; เนตรนภิส สุชนวนิช; Netnapis Suchonwanich (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      การเข้าถึงยา (access to medicine) ถือเป็นกุญแจสำคัญที่บ่งบอกความสำเร็จของระบบสาธารณสุขในประเทศนั้นๆ จากรายงานของ World Health Organization (WHO) ในปี 2004 ชี้ให้เห็นตัวเลข 1 ใน 3 ของประชากรของโลกยังไม่สามารถเข้าถึงยาที่ม ...
    • การวิเคราะห์สถานการณ์การเข้าถึงยาจำเป็นในประเทศไทย : ความไม่สอดคล้องของนโยบาย 

      ชุติมา อรรคลีพันธุ์; Chutima Akaleephan; กมลวรรณ เขียวนิล; Kamonwan Kiewnin; จีรภา โสสม; Jeerapa Sosom; มินตรา หงษ์ธำรง; Mintar Hongtumrong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-10)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์ความไม่สอดคล้องของนโยบายที่เกี่ยวเนื่องกับการเข้าถึงยาจำเป็นในประเทศไทย โดยใช้วิธีการวิเคราะห์ความสอดคล้องของนโยบาย (policy coherence analysis) ซึ่งเริ่มจากการรวบรวมนโยบายและกฎ ...
    • การศึกษาการขยายโครงการ Antibiotics Smart Use 

      นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; วีรวรรณ แตงแก้ว; วินิต อัศวกิจวิรี; พิสนธิ์ จงตระกูล; กัญญดา อนุวงศ์; สมหญิง พุ่มทอง; เขมวดี ขนาบแก้ว; ณัชธญา นิลพานิชย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2552-09)
      โครงการการศึกษาการขยายโครงการ Antibiotics Smart Use (Antibotics Smart Use ปีที่ 2 หรือ ASU II) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบที่เหมาะสมและผลสัมฤทธิ์ในการขยายโครงการ ASU สู่ความยั่งยืนในการลดการใช้ยาปฏิชีวนะใน 3 โรคเป้าหมาย ...
    • การศึกษาขนาดและผลกระทบทางการคลังของการครอบครองยาเกินจำเป็นและการแก้ปัญหาเชิงนโยบาย 

      ณธร ชัยญาคุณาพฤกษ์; ปิยะรัตน์ นิ่มพิทักษ์พงศ์; นภวรรณ เจียรพีรพงศ์; ปิยะเมธ ดิลกธรสกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-05)
      ปัญหาค่าใช้จ่ายด้านยาที่สูงขึ้นเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญอันหนึ่งของประเทศไทย การครอบครองยาเกินจำเป็นเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ค่าใช้จ่ายด้านยาสูงขึ้นโดยไม่จำเป็น จากปัญหาดังกล่าวข้างต้น ผู้วิจัยจึงได้ทำการศึกษานี้ขึ้นเพื่อ ...
    • การสังเคราะห์ข้อเสนอเพื่อเสริมสร้างการอภิบาลระบบยา 

      วุฒิสาร ตันไชย; Wuttisan Tanchai; สกนธ์ วรัญญูวัฒนา; Sakon Varanyuwatana; อรทัย ก๊กผล; Orathai Kokpol; วรรณภา ติระสังขะ; Vannapar Tirasangka; นรา แป้นประหยัด; Nara Panprayad; อัญชลี ห่วงทอง; Anchalee Huangtong; เอกวีร์ มีสุข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-05-30)
      ระบบอภิบาลยา (Pharmaceutical System) เป็นระบบที่มีความสำคัญต่อการบริหารทรัพยากรด้านสาธารณสุข แต่ก็เป็นระบบที่มีความสลับซับซ้อนและมีความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาล ซึ่งในหลายประเทศความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาลของระบบยาในมิติของความโป ...
    • การสังเคราะห์บทบาทกระทรวงสาธารณสุขในระบบยาและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ 

      ชะอรสิน สุขศรีวงศ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-06)
      สถานการณ์การคุ้มครองผู้บริโภคในประเทศไทย มีรายงานว่าผู้บริโภคมีความเสี่ยงสูงในการบริโภคผลิตภัณฑ์ และบริการโดยเฉพาะที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพ ประกอบกับการดำเนินงานทางด้านการคุ้มครองผู้บริโภคของภาคราชการยังไม่เต็มที่ ...
    • การสังเคราะห์วิสัยทัศน์ของประชาคมเภสัชกรสำหรับการปฏิรูประบบสาธารณสุขภาพ 

      คทา บัณฑิตานุกูล; Katha Bunditanukul; เพชรรัตน์ พงษ์เจริญสุข; พัชราภรณ์ ปัญญาวุฒิไกร; รุ่งเพ็ชร สกุลบำรุงศิลป์; สุนทรี วัชรดำรงกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      การสังเคราะห์วิสัยทัศน์ของประชาคมเภสัชกรสำหรับการปฏิรูประบบสุขภาพวัตถุประสงค์เพื่อระดมความคิดของประชาคมเภสัชกรเครือข่ายหลักและสังเคราะห์เป็นวิสัยทัศน์ของระบบสุขภาพแห่งชาติที่ต้องการเพื่อสังเคราะห์ให้เห็นบทบาทของเภสัชกรในมิติใหม่ ...
    • การเงินการคลังที่เกี่ยวกับยา 

      รุ่งเพ็ชร สกุลบำรุงศิลป์; Rungpetch Sakulbumrungsil; นุศราพร เกษสมบูรณ์; Nusaraporn Kessomboon; อาทร ริ้วไพบูลย์; Athorn Riewpaiboon; อินทิรา กาญจนพิบูลย์; Inthira Kanchanaphibool; ทวีศักดิ์ มโนมยิทธิกาญจน์; Taweesuk Manomayitthikan; ธนิศา ทาทอง; Thanisa Thathong; ฉันทวัฒน์ ปฏิกรณ์; Chanthawat Patikorn; กุลจิรา อุดมอักษร; Khunjira Udomaksorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-08-15)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานระบบยาของประเทศไทย (ฉบับที่ 3) วันที่ 15-16 สิงหาคม พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชุมตันจง พาการ์ ชั้น 8 โรงแรมอัมรา กรุงเทพฯ
    • การเตรียมความพร้อมด้านระบบยา เวชภัณฑ์ และสิ่งของ เพื่อรองรับสถานการณ์ภัยพิบัติ 

      อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; ภาณุมาศ ภูมาศ; ดวงตา ผลากรกุล; พรพิมล จันทร์คุณภาส; ไพทิพย์ เหลือเรืองรอง; วรนัดดา ศรีสุพรรณ; ภัทร์อนงค์ จองศิริเลิศ; กิตติ พิทักษ์นิตินันท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการเตรียมความพร้อมในการดำเนินการดำเนินการจัดหาและสนับสนุนยาเวชภัณฑ์และสิ่งของในระหว่างการเกิดภัยพิบัติในรูปแบบต่างๆ ที่เคยเกิดขึ้น เพื่อเป็นแนวทางสำหรับรองรับสถานการณ์ภัยพิบัติในอนาคต ...