Now showing items 61-80 of 89

    • มาตรการส่งเสริมและกำกับการใช้ยาสมเหตุผลในระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการของโรงพยาบาล 34 แห่ง สำหรับยา 9 กลุ่มที่มีค่าใช้จ่ายสูง 

      ภาสกร สวนเรือง; Passakorn Suanrueang; อัจฉราวรรณ โตภาคงาม; Acharawan Topark-ngarm; สุมนต์ สกลไชย; Sumon Sakolchai; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paiboon Suriyawongpaisarn; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      ค่าใช้จ่ายด้านยาในระบบจ่ายตรงของระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ มีแนวโน้มเพิ่มสูงมาก การศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจมาตรการส่งเสริมและกำกับการใช้ยาสมเหตุผล และการควบคุมค่าใช้จ่ายที่มีการดำเนินการในโรงพยาบาล 34 แห่งสำหรับยา ...
    • มุมมองของผู้บริหารต่อการนำร้านยาเข้าเชื่อมโยงกับระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 

      วิวรรธน์ อัครวิเชียร; จีริสุดา คำสีเขียว; ดวงทิพย์ หงษ์สมุทร; พิมลศรี แสงคาร์; พยอม สุขเอนกนันท์; Wiwat Arkaravichien; Jeerisuda Khumsikiew; Duangtip Hongsamoot; Pimolsri Sangkar; Phayom Sookaneknun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      เนื่องจากการศึกษาความคิด และมุมมองของผู้บริหารอาจสะท้อนให้เห็นช่องทางการพัฒนาและกำหนดทางเดินได้ ผู้วิจัยงานนี้จึงดำเนินงานเพื่อศึกษาแง่คิดและมุมมองของผู้บริหารที่เกี่ยวข้องในการเชื่อมโยงร้านยาเอกชนให้เข้ามาร่วมบริการในระ ...
    • มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 

      รุ่งเพ็ชร สกุลบำรุงศิลป์; Rungphech Sakulbamrungsil (คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547)
      มูลค่าการบริโภคยา (National Drug Consumption) ของประเทศไทยเป็นข้อมูลสำคัญที่จะช่วยสะท้อนระบบยาและระบบสุขภาพของแต่ละประเทศได้เป็นอย่างดี ดังนั้น ในการจัดทำบัญชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติ (National Health Account- NHA) ...
    • ระบบยาในจังหวัดสงขลา 

      สุรฉัตร ง้อสุรเชษฐ์; Surachat Ngorsuraches; ณรงค์ศักดิ์ สิงห์ไพบูลย์พร; อรรถพล ศรเลิศล้ำวาณิช; ยูซูฟ นิมะ; Narongsak Singhpaiboonporn; Attaporn Sornlertlumvanich; U-soop Nima (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      โครงการศึกษาระบบยาในจังหวัดสงขลานี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาหาปัญหาในระบบยาของโรงพยาบาลในจังหวัด ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งที่มีขอบเขตกว้างในระบบยา ทั้งในแง่ของมูลค่าและปริมาณของยาในระบบ ในการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับระบบยานั้นจะอ ...
    • ระบบราคาอ้างอิงของยาในประเทศไทย 

      เพชรรัตน์ พงษ์เจริญสุข; อังคณา แสงนภากาศ; อรลักษณ์ พัฒนาประทีป; นพคุณ ธรรมธัชอารี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข และสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2556)
      ค่าใช้จ่ายด้านยาของประเทศไทยมีมูลค่าเพิ่มสูงกว่าร้อยละสิบในช่วงหลายปีที่ผ่านมา โดยมีโรงพยาบาลเป็นแหล่งกระจายหลักของระบบการบริการด้านสุขภาพด้านยา คิดเป็นมูลค่ากว่าร้อยละ 70 ของตลาดยาแผนปัจจุบันทั่วประเทศ บริบทของระบบประก ...
    • ระบบสารสนเทศเพื่อการติดตามราคาและวิเคราะห์ขีดความสามารถในการจัดซื้อผลิตภัณฑ์ยาของภาครัฐตามแนวทางของ PAC 

      รุ่งเพ็ชร สกุลบำรุงศิลป์; นุศราพร เกษสมบูรณ์; ศิริพา อุดมอักษร; อินทิรา กาญจนพิบูลย์; ไพทิพย์ เหลืองเรืองรอง (2555)
      กลไกการควบคุมค่าใช้จ่ายเป็นมาตรการที่ใช้กันทั่วไปเพื่อให้ระบบประกันสุขภาพมีประสิทธิภาพ ภายใต้มาตรการเหล่านี้ ถ้าผู้ให้บริการขาดศักยภาพในการจัดการ ผลกระทบจะเกิดกับคุณภาพการให้บริการแก่ผู้ป่วย ดังนั้นการเพิ่มศักยภาพในการจั ...
    • ราคายานำเข้าจากสหรัฐอเมริกา 

      ดวงทิพย์ หงษ์สมุทร; Duangtip Hongsamoot; Schondemeyer, Stephen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      การศึกษาราคายานำเข้าจากสหรัฐอเมริกาการศึกษาราคายานำเข้าจากสหรัฐอเมริกาเป็นการเปรียบเทียบราคายาที่จำหน่ายในสหรัฐอเมริกาแล้วนำเข้ามาจำหน่ายในประเทศไทย โดยมีกลุ่มตัวอย่างในการศึกษามี 209 รายการ มาดำเนินการเปรียบเทียบราคายาได้ ...
    • รายงานตัวชี้วัดการวิเคราะห์ข้อมูลการสั่งใช้ยา 

      โครงการพัฒนาสารสนเทศด้านยาของผู้ป่วยนอกรายบุคคลในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556)
      ในทศวรรษที่ผ่านมา เทคโนโลยีสารสนเทศได้ช่วยให้แผนกเภสัชกรรมของโรงพยาบาลเก็บข้อมูลการจ่ายยาในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยมีวัตถุประสงค์เชิงการบริหารจัดการ เช่น การคำนวณมูลค่ายาเพื่อเรียกเก็บ การพิมพ์ฉลากยาสำเร็จรูป การบริหารเว ...
    • ร้อยเรียงเรื่องยา จากโรงพยาบาลถึงบ้าน 

      อรวรรณ กาศสมบูรณ์ (โรงพยาบาลลอง จังหวัดแพร่, 2554-07)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย ครั้งที่ 4 เรื่อง คุณค่า R2R เบาหวาน สู่การขยายผล วันที่ 20 กรกฎาคม 2554 เวลา 13.00-14.30 น. ณ Jupiter12 อาคารชาแลนเจอร์ อิมแพ็ค เมืองทองธานี
    • ศักยภาพของการผลิตยาในปัจจุบันและแนวโน้มของเทคโนโลยีการผลิตยาในอนาคต 

      อำพล ไมตรีเวช; Amphon Mitreewach; ณรงค์ สาริสุต; ณัฐนันท์ สินชัยพานิช; มนต์ชุลี นิติพน; ฤดี เสาวคนธ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัยนี้เป็นการศึกษาเพื่อหาแนวทางในการสนับสนุนและพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตยา โดยรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลในด้านศักยภาพของการผลิตยาในปัจจุบัน และแนวโน้มของเทคโนโลยีในอนาคต การศึกษาแบ่งออกเป็นสองส่วนใหญ่ ...
    • สถานการณ์ด้านการเข้าถึงยา 

      จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon (คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2556-04-25)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการ การวิจัยระบบสุขภาพประจำปี 2556 การจัดการความรู้สู่ระบบสุขภาพที่เป็นธรรม วันที่ 25-26 เมษายน 2556 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร
    • สรุปประชุม เรื่อง ก้าวใหม่ของประเทศไทย ประชาชนเข้าถึงยาโดยถ้วนหน้า 

      คณิตสรณ์ สัมฤทธิ์เดชขจร; ธนภร ชัยจิต; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-04-25)
    • สำมะโนการโฆษณาอาหาร ยา และเครื่องสำอางในวิทยุกระจายเสียงทั่วประเทศ พ.ศ. 2536 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangchroensathien; สุกัลยา คงสวัสดิ์; อารี แวดวงธรรม; ชาญชัย เอื้อชัยกุล; เยาวเรศ อุปมายันต์ (สถาบันวิจัยสาธารณสุขไทย ; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2539)
      สำมะโนการโฆษณาอาหาร ยาและเครื่องสำอางในวิทยุกระจายเสียงทั่วประเทศ พ.ศ. 2536ผู้วิจัยได้ทำการสำมะโนการโฆษณาอาหาร ยาและเครื่องสำอางในวิทยุกระจายเสียงในรายการวิทยุทุกรายการ ตั้งแต่เปิดสถานีจนกระทั่งปิดสถานี เป็นจำนวนหนึ่งวันสถานี ...
    • หลักฐานเชิงประจักษ์ความร่วมมือในการรักษาด้วยยาของผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชนประเทศไทย: การทบทวนวรรณกรรมแบบบูรณาการและการใช้เทคนิคเดลฟาย 

      ปิ่นหทัย ศุภเมธาพร; Pinhatai Supametaporn; ชื่นจิตร กองแก้ว; Chuenjid Kongkaew; ศศิมาภรณ์ แหยงกระโทก; Sasimaporn Yaengkratok (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      บทนำ : โรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นสาเหตุการป่วยและการตายที่สำคัญของประชากรทั่วโลกและประเทศไทย ความร่วมมือในการรักษาด้วยยามีความจำเป็นต่อการรักษาและควบคุมโรค พบว่า ผู้ป่วยเกินครึ่งไม่สามารถใช้ยาตามแผนการรักษาได้ ส่งผลกระทบต่ ...
    • อนาคตระบบควบคุมกำกับของระบบยา ระบบเภสัชกรรม 

      ดวงทิพย์ หงษ์สมุทร; Duangtip Hongsamoot (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      เอกสารนี้เป็นการวิเคราะห์ระบบควบคุมกำกับของระบบยา/ระบบเภสัชกรรมที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน โดยจะนำเสนอระบบและสถานการณ์ที่เป็นอยู่ ปัญหาของระบบ แนวโน้มและโอกาสการเปลี่ยนแปลงของระบบในอนาคต ระบบควบคุมกำกับในที่นี้มิได้จำกัดเฉพาะก ...
    • เครือข่ายวิจัยความร่วมมือในการรักษาด้วยยาเพื่อประเทศไทยใช้ยาอย่างสมเหตุผล 

      ชื่นจิตร กองแก้ว; Chuenjid Kongkaew; อุไรวรรณ ชัยชนะวิโรจน์; Uraiwan Chaichanawirote; ปิ่นหทัย ศุภเมธาพร; Pinhatai Supametaporn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      บทนำ : โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (Non-Communicable Diseases, NCDs) เป็นสาเหตุการป่วยและการตายที่สำคัญของประชากรทั่วโลกและประชากรไทย การรักษาในปัจจุบันผู้ป่วยส่วนใหญ่เกินครึ่งต้องกินยาตามคำสั่งการรักษาของแพทย์ เพื่อควบคุมอาการ ...
    • เครือข่ายวิจัยระบบยา 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; นุศราพร เกษสมบูรณ์; ณธร ชัยญาคุณาพฤกษ์; ชนัตถา พลอยเลื่อมแสง; ศิริตรี สุทธจิตต์; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; พรพิศ ศิลขวุธท์; สรชัย จำเนียรดำรงการ; ธนภร ทองศรี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-10)
      เอกสารฉบับนี้รวบรวมประเด็นสำคัญและข้อเสนอจากการประชุมเรื่อง “การวิจัยและพัฒนาระบบยา เพื่อการเข้าถึงยาถ้วนหน้าของประชาชนไทย” จัดโดยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ในวันที่ 26-27 สิงหาคม 2552 ณ. โรงแรมสยามซิตี้ กรุงเทพมหานคร ...
    • เภสัชพันธุศาสตร์ของการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ทางผิวหนังชนิดรุนแรงจากยาที่เป็นสาเหตุหลักในประเทศไทย (ปีที่ 2) 

      นนทญา นาคคำ; Nontaya Nakkam; วิจิตรา ทัศนียกุล; Wichittra Tassaneeyakul; สมศักดิ์ เทียมเก่า; Somsak Tiamkao; ชลภัทร สุขเกษม; Chonlaphat Sukasem; ศิริมาศ กาญจนวาศ; Sirimas Kanjanawart; ปริญญา คนยัง; Parinya Konyoung; กันยารัตน์ แข้โส; Kanyarat Khaeso (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      อาการไม่พึงประสงค์ทางผิวหนังชนิดรุนแรงจากยา (Severe Cutaneous Adverse Drug Reactions, SCARs) จัดเป็นอาการไม่พึงประสงค์ที่มักไม่สัมพันธ์กับฤทธิ์หรือขนาดยา ซึ่งมีอันตรายรุนแรงถึงแก่ชีวิตได้ โดยยาที่เป็นปัญหาสำคัญอันดับต้นๆ ...