• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI) เลือกตามชื่อเรื่อง 
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI) เลือกตามชื่อเรื่อง
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI) เลือกตามชื่อเรื่อง
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI) เลือกตามชื่อเรื่อง

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 2816-2835 จาก 5570

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • ความรู้ เจตคติ และการปฏิบัติตัวในการใช้ปากกาอินสุลินของผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการในโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเลิงนกทา จังหวัดยโสธร 

      ศิษฎิคม เบ็ญจขันธ์; Sittikom Benchakanta; พิชิต นามวิเศษ; Pichit Namvisate (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การรักษาผู้ป่วยเบาหวานด้วยการฉีดอินสุลิน เป็นวิธีมาตรฐานหนึ่งในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ซึ่งแต่เดิมบริหารโดยการใช้กระบอกฉีดอินสุลินแบบฉีดยาทั่วไป จนกระทั่งปัจจุบันมีการพัฒนาปากกาสำหรับฉีดอินสุลินโดยเฉพาะ ซึ่งสะดวก ...
    • ความรู้ เจตคติ และพฤติกรรมการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม-ทบทวนวรรณกรรม 

      เนติมา คูนีย์; Netima Cooney (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      ปัจจุบันมะเร็งเต้านมยังคงเป็นสาเหตุการตายในอันดับต้นๆ ของหลายประเทศ อย่างไรก็ตาม หากตรวจพบมะเร็งตั้งแต่ระยะเริ่มแรก พบว่ามีโอกาสหายและสามารถลดอัตราการตายจากโรคได้ ดังนั้น การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมจึงเป็นเรื่องสำคัญ ...
    • ความรู้ เจตคติ และพฤติกรรมทางเพศของนักเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษา 

      วัชระ เอี่ยมรัศมีกุล; Watchara Aiumrasamikul; ประทุม หงศาลา; บังอร สิมสีแก้ว; จุรีรัตน์ สุขประเสริฐ; ละเมียด สิงห์ธีร์; ชุติมา ปัตลา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      ความรู้ เจตคติและพฤติกรรมทางเพศของนักเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษาการวิจัยเชิงสำรวจครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับความรู้ เจตคติและพฤติกรรมทางเพศของนักเรียนประถมและมัธยมศึกษา ประชากรที่ศึกษาคือนักเ ...
    • ความรู้ที่จำเป็นเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจที่ดีขึ้นในการกำหนดนโยบายด้านสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในสังคมไทย 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. แผนงานวิจัยและพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพและระบบการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      การศึกษาความรู้ที่จําเป็นเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจที่ดีในการกำหนดนโยบายด้านสารเคมีกําจัดศัตรูพืชในสังคมไทย ไม่ได้มุ่งเน้นความรู้ที่จําเป็นสําหรับสนับสนุนการตัดสินใจของผู้ตัดสินใจในระดับนโยบายเพียงเท่านั้น แต่จะขยายมิติควา ...
    • ความรู้ท้องถิ่น วัฒนธรรมสุขภาพกับสังคมอาเซียน 

      สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ; Society and Health Institute (สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ, 2556-08-07)
      เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการวิชาการสังคมและสุขภาพ ประจำปี 2556 เรื่อง แนวรบสุขภาพ: พรมแดนวัฒนธรรมกับการรุกของทุน (Frontiers of Health: Cultural Borders and the Dominance of Capital) หัวข้อย่อย ความรู้ท้องถิ่น ...
    • ความรู้พื้นฐานด้านการเฝ้าระวัง สอบสวน ป้องกัน ควบคุมโรค สำหรับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 

      อุบลรัตน์ นฤพนร์จิรกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      กระทรวงสาธารณสุขรับนโยบายจากรัฐบาล เมื่อปี พ.ศ. 2552 ให้ปรับปรุงระบบบริการสุขภาพของภาครัฐทุกระดับให้ได้มาตรฐาน โดยยกระดับสถานีอนามัยเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เนื่องจากเป็นนโยบายที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยตรง ...
    • ความรู้เกี่ยวกับนโยบายสนับสนุนระบบบริการสุขภาพโรคเรื้อรังและการมีส่วนร่วมที่หน่วยบริการปฐมภูมิของเภสัชกรโรงพยาบาล 

      อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; หนึ่งฤทัย สุกใส; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; On-anong Waleekhachonloet; Nungruthai Suksai; Thananan Rattanachotphanit; Chulaporn Limwattananon; Samrit Srithamrongsawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-12)
      ในปัจจุบัน ระบบบริการปฐมภูมิมีบทบาทเพิ่มขึ้นในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่สามารถควบคุมอาการได้ การรักษาโรคเรื้อรังเกือบทั้งหมดเป็นการรักษาด้วยยา ดังนั้นเภสัชกรควรมีส่วนร่วมในการดูแลการใช้ยาในหน่วยบริการปฐมภูมิ ...
    • ความรู้เบื้องต้นในการวิเคราะห์ต้นทุนของสถานบริการสาธารณสุข 

      อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล; Anuwat Supachutikul; อดิศวร์ หลายชูไทย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; สุกัลยา คงสวัสดิ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2539)
      เอกสารฉบับนี้เป็นการสรุปความรู้เบื้องต้นที่เป็นพื้นฐานสำคัญในการทำความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องต้นทุน ซึ่งนำแนวคิดทั้งด้านเศรษฐศาสตร์และด้านการบัญชีมาอธิบายควบคู่กันไป เพื่อลดความสับสนแก่ผู้ศึกษา
    • ความรู้เรื่องไข้หวัดนก และพฤติกรรมการป้องกันของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน อำเภอผักไห่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 

      วัชระ รักวาทิน; Watchara Rakwatin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การวิจัยเป็นการศึกษาเชิงพรรณนามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความรู้เรื่องโรคไข้หวัดนก ระดับพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้หวัดนก และเปรียบเทียบพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้หวัดนกของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) อำเภอผักไห่ ...
    • ความรู้และการปฏิบัติตนของหญิงระยะตั้งครรภ์ และระยะหลังคลอด จังหวัดตรัง 

      ราตรี ศิริพลบุญ; Ratree Siripolbul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2537)
      ความรู้และการปฏิบัติตนของหญิงระยะตั้งครรภ์ และระยะหลังคลอดจังหวัดตรังการศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความรู้และการปฏิบัติตน ในการดูแลสุขภาพตนเองของหญิงระยะตั้งครรภ์และระยะหลังคลอด โดยมีการวิจัยแบบเชิงพรรณาแบบย้อนหลัง ...
    • ความรู้และความตระหนักเกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยมหิดล ปีการศึกษา 2554 

      กานนท์ อังคณาวิศัลย์; พศวัต พึ่งเกียรติไพโรจน์; นวลนิตย์ แปงดี; สคณรัช ทองคำคูณ; กัลยรัตน์ วิไลวงศ์เสถียร; พิรญาณ์ เพียรกลิ่นธรรม; สุภาพรรณ ชุมมุง; กมลชนก ดีศรีศักดิ์; ภาณุพงศ์ หาญเจริญพิพัฒน์; ชุติกาญจน์ พูลเพิ่ม; อ่อนอุษา ขันธรักษา; พงศ์ธนยศ กิรติสินธุ์; วรทัต หงส์วาณิชวงศ์; เพชรณเธียร จุลเลศ; ชิดชนก อุดมธนเดชน์; ภวินตรา เจริญเวช; อภิชญา พร้อมพวก; วรางคณา ชิดช่วงชัย; วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Kanont Angkanavisan; Possawat Peungkiatpairote; Nuannit Pangdee; Skonrach Thongkumkoon; Kalyarat Wilaiwongsathien; Piraya Pienklintham; Suphapan Chummung; Kamolchanok Deesrisak; Phanuphong Hancharoenphiphat; Chutikarn Poolpoem; Onusa Khantharaksa; Pongtanayos Keeratisin; Woratat Hongwanichwong; Petchnatien Julles; Chidchanok Udomtanadech; Pawintar Jaroenwet; Aphichaya Phromphauk; Warungkana Chidchuangchai; Visanu Thamlikitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)
      ภูมิหลัง: ปัจจัยสำคัญประการหนึ่งที่สัมพันธ์กับการใช้ยาปฏิชีวนะมากเกินความจำเป็นคือการขาดความรู้และความตระหนักเกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบและให้ความรู้และสร้างความตระหนักเกี่ยว ...
    • ความรู้และความตระหนักเรื่องการใช้ยาปฏิชีวนะและเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพของเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานด้านสุขภาพและการจัดการการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำของประเทศไทย 

      วันวิสาห์ แก้วขันแข็ง; Wanwisa Kaewkhankhaeng; ฐิติพร หลาวประเสริฐ; Thitiporn Laoprasert; เสาวภา คชลัย; Saowapa Khotchalai; ศุภภัทร คีรีวรรณ; Supapat Kirivan; หทัยรัตน์ โกษียาภรณ์; Hathairat Kosiyaporn; อังคณา เลขะกุล; Angkana Lekagul; เจนจิตต์ คงกำเนิด; Janejit Kongkumnerd; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเป็นอุตสาหกรรมทางการเกษตรที่มีความสำคัญต่อความมั่นคงทางอาหาร และการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศที่มีรายได้ต่ำและรายได้ปานกลาง อย่างไรก็ตาม ในกระบวนการผลิตสัตว์น้ำ เกษตรกรอาจใช้ยาปฏิชี ...
    • ความร่วมมือพัฒนารูปแบบการป้องกันและฟื้นฟูผู้ป่วยไตเรื้อรัง คลองขลุงโมเดล 

      สุชาณี สุวัฒนารักษ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-10-11)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย (ครั้งที่ 2) : ยั่งยืนด้วยคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความเป็นธรรม และการประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2560 วันที่ 10 ...
    • ความร่วมมือในการรักษาด้วยยาของผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่มารับการรักษาที่คลินิกโรคเรื้อรังของโรงพยาบาลชุมชน: การวิจัยเชิงคุณภาพ 

      ปิ่นหทัย ศุภเมธาพร; Pinhatai Supametaporn; ชื่นจิตร กองแก้ว; Chuenjid Kongkaew; ศศิมาภรณ์ แหยงกระโทก; Sasimaporn Yaengkratok (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      โรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่สำคัญ ได้แก่ โรคหัวใจและหลอดเลือด มะเร็ง ทางเดินหายใจเรื้อรังและเบาหวาน ซึ่งเป็นสาเหตุการป่วยและการตายที่สำคัญของประชากรทั่วโลกและประเทศไทย ซึ่งการรักษาและการควบคุมโรค จำเป็นต้องได้รับความร่วมมือใน ...
    • ความสม่ำเสมอในการกินยากันชักเฟนีย์โทอิน 

      สักรินทร์ สมศักดิ์; Sakkarin Somsak; นันทวัน สมศักดิ์; Nantawan Somsak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      เฟนีย์โทอินเป็นยาที่ใช้ในการป้องกันและรักษาผู้ป่วยโรคลมชัก เนื่องจากการใช้ยายังมีปัญหาในทางเวชกรรมที่ต้องติดตามความสม่ำเสมอในการใช้ยาและระดับยาในเลือด เพราะยามีช่วงการรักษาแคบ, ระดับยาในพลาสมาเข้าสู่สภาวะคงที่ช้า, ...
    • ความสอดคล้องของนโยบายเพื่อส่งเสริมอุตสาหกรรมยาต่อการสร้างความมั่นคงทางยาในประเทศไทย 

      สุรศักดิ์ สุนทร; Surasak Soonthorn; ชะอรสิน สุขศรีวงศ์; Cha-oncin Sooksriwong; ตวงรัตน์ โพธะ; Tuangrat Phodha; ปรุฬห์ รุจนธำรงค์; Parun Rutjanathamrong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-04)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความมั่นคงทางยา (Drug Security) ของประเทศไทย วิเคราะห์เชิงลึกตามกรอบแนวคิด SUPERB ซึ่งประกอบด้วย 1. Self-sufficient: การพึ่งพาตนเองและความสามารถในการผลิตภายในประเทศรวมทั้งมีเหลือเพื่อส่งออก ...
    • ความสัมพันธ์ของการรับรู้สมรรถนะแห่งตนกับการปฏิบัติเพื่อควบคุมภาวะน้ำหนักตัวเกินในหญิงวัยกลางคน อำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี 

      ไพโรจน์ พัวพันธุ์; Pairoj Puapun; เพลินจิต คันถรจนาจารย์; Plernjit Kantarotjanajan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      หญิงวัยกลางคนจำนวนมากประสบปัญหาทางด้านภาวะน้ำหนักตัวเกินแต่การควบคุมภาวะน้ำหนักตัวเกินให้ได้ผล จำเป็นต้องอาศัยพฤติกรรมในการดูแลตนเองที่ดี และการรับรู้สมรรถนะแห่งตนจะช่วยให้เกิดความเชื่อมั่นในความสามารถของตน ซึ่งอาจนำไปสู ...
    • ความสัมพันธ์ของการเกิดโรคระบบทางเดินหายใจและโรคผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังกับมลพิษทางอากาศที่เกิดจากโรงงานในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด 

      สมชาย จาดศรี; Somchai Chadsri (Sukhothai Provincial Health Office, 254?)
      ความสัมพันธ์ของการเกิดโรคระบบทางเดินหายใจและโรคผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังกับมลพิษทางอากาศที่เกิดจากโรงงานในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดได้ศึกษาโดยเปรียบเทียบอัตราป่วยในเขตเทศบาลเมืองมาบตาพุดกับพื้นที่ของโรงพยาบาลบ้านฉางและ ...
    • ความสัมพันธ์ของปัจจัยกับพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพช่องปากด้วย PRECEDE Framework ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย 

      ศุภกร ศิริบุรี; Supakorn Siriburee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      โรคฟันผุและเหงือกอักเสบเป็นปัญหาสำคัญและเรื้อรังทางทันตสาธารณสุขโดยเฉพาะในเด็กและเยาวชน เด็กนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา โดยเฉพาะชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นนั้น ยังขาดการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างสม่ำเสมอ การศึกษานี้ได้ใช้ทฤษฎี PRECEDE ...
    • ความสัมพันธ์ของลักษณะส่วนบุคคล การรับรู้กราฟโภชนาการหญิงมีครรภ์และเส้นทางลูกรัก กับการปฏิบัติตนระหว่างมีครรภ์ และน้ำหนักทารกแรกคลอดที่โรงพยาบาลชุมชน ในจังหวัดศรีสะเกษ 

      ยุวดี โอฬารธนาเศรษฐ์; Yuwadee Olanthanasate (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การศึกษาวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวางครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของลักษณะส่วนบุคคล การรับรู้เกี่ยวกับกราฟโภชนาการ และเส้นทางลูกรัก กับการปฏิบัติตนระหว่างมีครรภ์และน้ำหนักทารกแรกคลอดของผู้มาคลอด โดยเก็บข้อม ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หน่วยงานนี้ปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [621]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1292]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [234]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV