• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI) เลือกตามชื่อเรื่อง 
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI) เลือกตามชื่อเรื่อง
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI) เลือกตามชื่อเรื่อง
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI) เลือกตามชื่อเรื่อง

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 3221-3240 จาก 5569

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • ตัวแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในระบบหลักประกันสุขภาพระดับชุมชนระหว่างกองทุนของภาครัฐ องค์การบริหารส่วนตำบล และกองทุนสุขภาพชุมชน กรณีศึกษา ตำบลปลายโพงพาง อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม และต.ท่าไม้รวก อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี 

      ทัศนีย์ ลักขณาภิชนชัช (แผนงานร่วมสร้างเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า, 2550-03)
    • ตัวแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในระบบหลักประกันสุขภาพระดับชุมชนระหว่างกองทุนของภาครัฐ องค์การบริหารส่วนตำบล และกองทุนสุขภาพชุมชน พื้นที่นำร่อง 7 พื้นที่ 

      วณี ปิ่นประทีป (แผนงานร่วมสร้างเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า, 2550-03)
    • ตัวแบบถดถอยลอจิสติกพหุคูณกับการคำนวณค่าอัตราส่วนออดส์ปรับค่า 

      อรุณ จิรวัฒน์กุล; Aroon Chirawatkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การเกิดโรคแต่ละโรคปรกติจะมีปัจจัยเสี่ยงหลายปัจจัย ค่าอัตราส่วนสัมพัทธ์ (relative ratio; RR) หรืออัตราส่วนออดส์ (odds ratio; OR) ที่คำนวณได้จากข้อมูลของแต่ละปัจจัยจะเป็นขนาดความเสี่ยงหยาบ ซึ่งขนาดความเสี่ยงที่คำนวณได้เกิด ...
    • ตัวแบบถดถอยลอจิสติกอย่างง่าย 

      อรุณ จิรวัฒน์กุล; Arun Chirawatkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      ตัวแบบถดถอยลอจิสติก เป็นสมการถดถอยรูปแบบหนึ่งที่ใช้แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตามที่ค่าตัวแปรจัดเป็น 2 กลุ่ม (dichotomy) เช่น เป็นโรค/ไม่เป็นโรค หาย/ตาย กับตัวแปรอิสระได้ทุกประเภท ทั้งตัวแปรนามสเกลที่มีค่าจัดได้ 2 กลุ่ม ...
    • ตั้งกองทุนชดเชยผู้เสียหายลดปัญหาผู้ป่วยฟ้องแพทย์ 

      ดวงกมล สจิรวัฒนากุล (2550-12)
    • ตามรอยการขับเคลื่อนเครือข่ายและคุณภาพงาน R2R ภาคกลาง: มุมมองประธาน อปสข.เขต 4 สระบุรี 

      ชูวิทย์ ลิขิตยิ่งวรา (สำนักงานหลักประกันสุขภาพระดับเขตเครือข่าย 4, 2555-07-11)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัยครั้งที่ 5 “วิถี R2R: เรียบง่าย คุณภาพ ครบวงจร” วันที่ 10 - 12 กรกฎาคม 2555 ณ ศูนย์การประชุมอิมแพ็คฟอรั่ม เมืองทองธานี
    • ตามรอยพระยุคลบาทในหลวงรัชกาลที่ 10 : ห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-12)
      เนื่องในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช 2562 เป็นพระราชพิธีบรมราชาภิเษกสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์แห่งประเทศไทย พร้อมทั้งเฉลิมพระปรมาภิไธย พระบาทสมเด็จ ...
    • ตายผ่อนส่งด้วย COPD: ภาระโรคในกลุ่มชายไทยสูงวัย 

      วัชรา บุญสวัสดิ์; Watchara Boonsawat (คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2557-09-04)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการวิจัยระบบสุขภาพ ครั้งที่ 3 ประจำปี 2557 “วิจัย...เปลี่ยนชีวิต” วันที่ 4-5 กันยายน 2557 ณ อิมแพคฟอรั่ม เมืองทองธานี
    • ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย 

      กระทรวงสาธารณสุข. กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก; Ministry of Public Health. Department for Development of Thai Traditional and Alternative Medicine (กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก, 2549)
      ปัจจุบันการแพทย์แผนจีนและการแพทย์ทางเลือกได้เข้ามาผสมผสานในการรักษาโรคในบ้านเราอย่างได้ผล แต่ที่ผ่านมายังขาดตำราดีๆ ที่เกี่ยวกับยาจีนที่ใช้ในประเทศไทย ดังนั้น กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกจึงได้จัดทำหนังสือ ...
    • ติดตามประเมินผลนโยบายทีมหมอครอบครัว 

      ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paiboon Suriyawongpaisarn; สุภา เพ่งพิศ; Supa Pengpid; สมชาย วิริดิรมย์กุล; นภาพร วาณิชย์กุล; Napaporn Wanitkun; สุชาดา ภัทรมงคลฤทธิ์; Suchada Pattaramongkolrit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-11)
      นโยบายทีมหมอครอบครัวอุบัติขึ้นท่ามกลางสายธารใหญ่อันยาวไกลแห่งการพัฒนาระบบย่อยอย่างน้อยสองระบบในระบบบริการสุขภาพไทย หนึ่งคือ ระบบบริการปฐมภูมิ ซึ่งมักนิยมเข้าใจกันว่า ไม่ใช่บริการเฉพาะโรค/เฉพาะทาง โดยมักเกิดขึ้นใกล้บ้าน ...
    • ติดตามประเมินผลโครงการพัฒนานโยบายการสนับสนุนศักยภาพอสม. สู่การบริการระบบสุขภาพชุมชน ปี 2553 

      ลือชัย ศรีเงินยวง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555)
      วัตถุประสงค์ 1. สถานการณ์ปัจจุบันของการดําเนินการ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของอาสามสมัครสาธารณสุขภายใต้โครงการส่งเสริมอาสาสมัครประจําหมู่บ้านเชิงรุกเป็นอย่างไร ในประเด็นของหนึ่งรูปแบบการบริหารจัดการเงินค่าป่วยการ ...
    • ติดเชื้อดื้อยา สาเหตุยอดฮิต เจ็บ ป่วย ตาย 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-03-23)
      Infographic จากงานวิจัยการป้องกันการติดเชื้อดื้อยาในหออภิบาลผู้ป่วย (Prevention of Multidrug Resistant Organism Infections in Intensive Care Units) อ่านงานวิจัยฉบับเต็มได้ที่ http://kb.hsri.or.th/dspace/handle/11228/4265
    • ติดเหล้าเพราะแม่ผัวแม่บ้านก๊งดับกลุ้มจน-เครียดดื่มหนัก 

      กองบรรณาธิการ (2550-11)
    • ต้นฉบับบทความวิชาการ 

      สมชัย บวรกิตติ; Somchai Bovornkitti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-06)
    • ต้นทุน และประสิทธิภาพของหน่วยบริการไตเทียม ภาครัฐและเอกชนในปี 2544 

      กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; สุวรรณา มูเก็ม; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ต้นทุน โครงสร้างต้นทุน ประสิทธิภาพของหน่วยบริการไตเทียมภาครัฐและเอกชนทั่วประเทศ ในปี พ.ศ. 2544 โดยใช้วิธีการสำรวจ โดยเก็บข้อมูลต้นทุนค่าแรง ค่าวัสดุ ค่าเสื่อมราคา ปริมาณการบริการฟอกเลือด ...
    • ต้นทุน-ประสิทธิผลของ Alendronate (ยาสามัญ) และ Risedronate (ยาต้นแบบ) สำหรับการป้องกันแบบปฐมภูมิของกระดูกหักในหญิงวัยหมดประจำเดือนที่มีปัจจัยเสี่ยง 

      ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; สุรัชดา กองศรี; ภาณุมาศ ภูมาศ; บัญญัติ สิทธิธัญกิจ; Thananan Rattanachotphanit; On-anong Waleekhachonloet; Surasak Chaiyasong; Suratchada Kongsri; Panumart Phumart; Bunyat Sitthithanyakit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03)
      การศึกษานี้วิเคราะห์ต้นทุน-ประสิทธิผลของ Alendronate (ที่เป็นยาชื่อสามัญ) และ Risedronate (ที่เป็นยาต้นแบบ) ในการป้องกันแบบปฐมภูมิของการเกิดกระดูกหักในหญิงวัยหมดประจำเดือนที่มีปัจจัยเสี่ยง ได้แก่ ข้ออักเสบรูห์มาตอยด์, ใช้ ...
    • ต้นทุน-ประสิทธิผลของการให้บริการยาละลายลิ่มเลือด ในโรงพยาบาลชุมชน 

      สุรศักดิ์ เสาแก้ว; Surasak Saokaew; ปิยะ หาญวรวงศ์ชัย; Piya Hanvoravongchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิดเอสทียก (ST segment elevation myocardial infarction: STEMI) เป็นสาเหตุการตายที่สำคัญ การเปิดหลอดเลือดหัวใจให้เร็วที่สุดโดยการขยายหลอดเลือดหัวใจจึงช่วยลดอัตราการเสียชีวิตได้ แต่ในบริบทที่ ...
    • ต้นทุน-ประสิทธิผลของการให้บริการยาละลายลิ่มเลือดในการรักษาผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายชนิดเอสทียก ในโรงพยาบาลชุมชน 

      สุรศักดิ์ เสาแก้ว; Surasak Saokaew; ปิยะ หาญวรวงศ์ชัย; Piya Hanvoravongchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิดเอสทียก (ST segment elevation myocardial infarction: STEMI) เป็นสาเหตุการตายที่สำคัญ การเปิดหลอดเลือดหัวใจให้เร็วที่สุดโดยการขยายหลอดเลือดหัวใจจึงช่วยลดอัตราการเสียชีวิตได้ แต่ในบริบทที่ ...
    • ต้นทุน-ประสิทธิผลของการให้บริการยาละลายลิ่มเลือดในการรักษาผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายชนิดเอสทียก ในโรงพยาบาลชุมชน 

      สุรศักดิ์ เสาแก้ว; Surasak Saokaew; ปิยะ หาญวรวงศ์ชัย; Piya Hanvoravongchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-03)
      โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิดเอสทียก (ST segment elevation myocardial infarction: STEMI) เป็นสาเหตุการตายที่สำคัญ การเปิดหลอดเลือดหัวใจให้เร็วที่สุด โดยการขยายหลอดเลือดหัวใจจะช่วยลดอัตราการเสียชีวิตได้ แต่ในบริบทที่ ...
    • ต้นทุน-ประสิทธิผลของโครงการรู้ทัน..กันหักซ้ำ ในผู้ป่วยกระดูกสะโพกหัก โรงพยาบาลเลิดสิน 

      จุฑาทิพ อาธีรพรรณ; Jutatip Artheeraphan; อรรถสิทธิ์ ศรีสุบัติ; Attasit Srisubat; ชิตวีร์ เจียมตน; Chitawee Jiamton; ฉัตรระวี จินดาพล; Chatravee Jindapol; รมนปวีร์ บุญใหญ่; Ramonpawee Boonyai; วรัญญา ทาสมบูรณ์; Waranya Tasomboon; สุวิภา อุดมพร; Suwipa Udomporn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      ภูมิหลังและเหตุผล: กระดูกข้อสะโพกหักในผู้สูงอายุเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยในทุกประเทศทั่วโลกและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปีตามจำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้น การรักษาและฟื้นฟูผู้ป่วยใช้เวลานาน ส่งผลให้แต่ละประเทศต้องรับภาระทางการเงิน ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หน่วยงานนี้ปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [620]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1292]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [234]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV